Page 201 - kpiebook63021
P. 201

เสื้อและอุปกรณ์กี าโดยมิชอบ ดังนั้นการกระทำของประ านกรรมการจ งเป นการกระทำที่ขาด
            รายงานสถานการณ์    เช่นนี้ถือเป นการป ิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จ งต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะ
                     ความระมัดระวัง ซ ่งหากระมัดระวังก อาจป องกันไม่ให้เกิดความเสียหายได้ และการขาดความระมัดระวัง


                     ส่วนของตน แต่เมื่อประ านกรรมการถ งแก้ความตาย กองมรดกของผู้ตายจ งตกทอดแก่ทายาทโดย รรม
                     ที่จะต้องรับผิดในผลแห่งละเมิดนี้   อ้างอิง คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.433/2562


                                  การบริหารงานบุ  ล


                                การ ม่ต่อสั  า ้าง นักงาน ้างทั      ด  ห้ หตุ ล ่า   นการสิ นสุดสั  า
                     แล     อกร  า รา  ด้ ห้กับบุ  ลอ  นบ้าง   อ   นดุล ินิ ท  ชอบด้  ก หมา หร อ ม่
            ส่วนท ่ 2 สถิ ิ  ะข้อม   : สถานการณ์การกระจายอำนาจ  ะการปกครองส่วนท้องถิ่น ทย
                                กรณีนี้เกิดข ้นเมื่อองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งหน ่งได้บอกเลิกจ้างพนักงานจ้าง
                     ทั่วไป ตำแหน่งพนักงานขับรถขยะ โดยให้เหตุผลว่าเป นการสิ้นสุดสั  าจ้าง และต้องการกระจายรายได้

                     ให้กับบุคคลในท้องถิ่นบ้าง ไม่ต้องการผูกขาดสั  าจ้างกับบุคคลใดบุคคลหน ่ง ซ ่งโดยหลักการแล้วนั้น
                     ในการพิจารณาเลิกจ้างพนักงานจ้างจะต้องพิจารณาข้อกำหนดในสั  าจ้าง การบอกเลิกจ้างพนักงานจ้าง

                     ทั่วไปโดยที่พนักงานไม่ได้กระทำผิดหรือไม่ได้สมัครใจ อีกทั้งได้ผลประเมินการป ิบัติงานไม่ต่ำกว่าระดับดี
                     ติดต่อกัน 2 ปี อันเป นเหตุให้ผู้บังคับบั ชาไม่สามารถบอกเลิกจ้างได้

                                ในคดีดังกล่าวนี้ พนักงานจ้างทั่วไปได้ทำสั  าจ้างกับองค์การบริหารส่วนตำบล

                     มาแล้ว 4 ปี จนวันหน ่งก ได้รับหนังสือแจ้งว่าไม่ต่อสั  าจ้างให้ ทั้งที่พนักงานจ้างมีผลการป ิบัติงาน
                     ย้อนหลัง 2 ปีไม่ต่ำกว่าระดับดี พนักงานจ้างคนดังกล่าวจ งฟ องต่อศาลปกครองต่อสั  าการจ้างงาน

                     ที่ไม่เป น รรม

                                ศาลปกครองสูงสุดจ งได้พิจารณาแล้ว สรุปสาระสำคั ได้ว่า แนวทางป ิบัติที่องค์กร

                     ปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ลงวันที่ 22 กันยายน 2548 เรื่องการกำหนด
                     ให้พนักงานจ้างที่มีผลการประเมินการป ิบัติงานเฉลี่ยย้อนหลัง 2 ปีไม่ต่ำกว่าระดับดี ให้องค์กรปกครอง
                     ส่วนท้องถิ่นจะต้องต่อสั  าให้แก่พนักงานผู้นั้น ถือเป นแนวทางที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับทราบ

                     โดยทั่วไป ไม่สามารถใช้ดุลพินิจโดยอิสระอย่างไรก ได้ หากแต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบก หมาย ข้อบังคับ และ
                     แนวทางที่ทางราชการกำหนด ซ ่งคดีนี้ถือว่า การไม่ต่อสั  าจ้างพนักงานทั่วไป ด้วยเหตุผลว่ามีนโยบาย

                     กระจายรายได้ให้บุคคลอื่นในท้องถิ่น ถือเป นการใช้อำนาจโดยมิชอบและเป นการใช้ดุลพินิจโดยอิสระ
                     จะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ฟ องคดีเป นเงินค่าจ้างรายเดือนเป นเวลา 1 ปี พร้อมดอกเบี้ยตาม
                     ก หมาย   อ้างอิง คำพิพากษาศา ปกครองสูงสุดที่ อ.167/2561



                                หากหนังส อลาออกของ นักงาน ท บาล ด้ลงลา ม อช  อ  ้ก่อนล่ งหน้า  ด  ม่
                     กรอกรา ล  อ  ด แต่หน่  งาน   น ู้กรอกรา ล  อ  ด   อ   นการแสดง  ตนาลาออกของ นักงาน
                     หร อ ม่


                                คดีนี้เกิดข ้นเมื่อพนักงานจ้างของเทศบาลแห่งหน ่ง ทำสั  าจ้างปีต่อปี ตำแหน่ง
                     พนักงานกวาดถนน ได้ร้องต่อศาลว่า เทศบาลให้ตนลงลายมือชื่อในหนังสือลาออกโดยไม่มีการกรอก

                     รายละเอียด จนกระทั่งสิ้นเดือนเทศบาลได้แจ้งเลิกจ้างโดยไม่แจ้งสาเหตุ พนักงานเห นว่าไม่ได้รับความเป น




                      สถาบันพระปกเก ้า
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206