Page 11 - kpiebook63019
P. 11

6






                     As for the qualitative study process, the researcher organized a brainstorming activity in
               the form of group meetings, in the form of a world cafe, four times in the region and to
               analyze qualitative data by processing, analyzing content, and summarizing opinions

               according to the operational issues of the National Legislative Assembly.

                     After conducting the study, found that the overall performance evaluation of the
               National Legislative Assembly can be summarized as follows:


                           Operational assessment of
                        the National Legislative Assembly           Mean           S.D.       Definition
                Representation of the people (R)                     2.05          0.88        Moderate

                Operational Audit (O)                                2.53          0.91        Moderate

                Legislature (L)                                      2.69          0.93        Moderate
                Transparency and Accessibility (T)                   2.51          0.93        Moderate

                Accountability (A)                                   2.65          0.84        Moderate

                Involvement of International Policy (I)              2.73          0.89        Moderate


               Overall Assessment Result Mean of Legislative Assembly Operation



                                                            R
                                                         5
                                                         4

                                            I            3  2.05           O
                                               2.73      2           2.53
                                                         1

                                                         0


                                                2.65                 2.69
                                            A                              L
                                                          2.51


                                                           T
                                                    ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน
                                                     Assessment mean

                                       ค่าเฉลี่ยผลการประเมินการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติโดยภาพรวม
                     As mentioned above, it can be concluded that the operations of the National
                      ดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน  as
               Legislative Assembly were moderate in all aspects. When considered individually, it w
               found that the Involvement of International Policy had the highest mean. Followed by the
               โดยเมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด
               รองลงมา คือ ด้านการท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ ด้านความส านึกรับผิดชอบ ด้านการตรวจสอบฝ่ายบริหาร ด้าน
               ความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของรัฐสภา และ ด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด


                      จากผลดังกล่าว เมื่อวิเคราะห์ตามองค์ประกอบย่อย จ านวน 32 องค์ประกอบในรายละเอียด พบว่า
               มีองค์ประกอบที่ได้ผลการประเมินในระดับสูง จ านวน 8 องค์ประกอบ โดยองค์ประกอบย่อยที่ได้รับผลประเมิน
            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
               เฉลี่ยสูงที่สุด คือ องค์ประกอบย่อย เรื่อง ขีดความสามารถของกรรมาธิการในการท าหน้าที่
               ด้านนิติบัญญัติ (ค่าเฉลี่ย = 3.39 คะแนน  และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.79) องค์ประกอบย่อยที่ได้ผล

               การประเมินในระดับปานกลาง จ านวน 29 องค์ประกอบ และ องค์ประกอบย่อยที่ได้ผลการประเมินในระดับต่ า จ านวน
               1 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบย่อย เรื่อง ความโปร่งใสในการได้มาของสมาชิกรัฐสภา (ค่าเฉลี่ย = 1.81 คะแนน

               และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.21)

                      ข้อเสนอแนะส าคัญเพื่อพัฒนาการด าเนินงานของรัฐสภา (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) ในเรื่องการเป็นตัวแทน

               ของประชาชนที่ส าคัญ ได้แก่ ควรมีการก าหนดสัดส่วนขั้นต่ าของเพศหญิงในรัฐสภา รวมทั้งควรก าหนดที่มาและ
               สัดส่วนของสมาชิกว่าควรมาจากกลุ่มใดบ้าง และจ านวนเท่าใด เพื่อให้สามารถท าหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

               และเป็นตัวแทนของประชาชนกลุ่มต่างๆ อย่างแท้จจริง มีข้อเสนอว่าควรมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นของ

               ประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียให้รอบด้านมากขึ้นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.

                                                          3
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16