Page 79 - kpiebook63008
P. 79

79








                          สำาหรับการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนั้นในกลุ่มผู้สมัคร ส.ส.ไม่ว่าจะเป็นพรรคขนาดใหญ่หรือ

                  พรรคขนาดกลางและเล็ก มีการนำากลยุทธ์ วิธีการที่หลากหลายรูปแบบมาใช้ในการเข้าถึงกลุ่มประชาชน
                  เป้าหมาย ทั้งนี้กลยุทธที่ใช้โดยส่วนใหญ่มักเลือกใช้วิธีการต่าง ๆ ประกอบด้วย (คามิน ปั้นเหน่งเพ็ชร และ

                  ดำารง นามสมมติ, สัมภาษณ์ 2562)


                          1.  การเข้าแนะนำาตัวต่อชาวบ้านในพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านทั่วทั้งเขตเลือกตั้ง


                          2.  การแจกแผ่นพับแนะนำาตัว ประวัติ ผลงานผู้สมัคร ส.ส. และนโยบายของพรรค


                          3.  การติดตั้งป้ายหาเสียงในพื้นที่ชุมชนและหมู่บ้าน รินถนน โดยเน้นจุดที่ประชาชนที่สัญจร
                              ผ่านไปมาสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ทั้งชื่อ นามสกุล และพรรคที่สังกัด


                          4.  การใช้รถกระบะติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ตัวผู้สมัครขับเคลื่อนไปตามชุมชน


                          5.  การปราศรัยหาเสียงขยายย่อม ตามพื้นที่ชุมชนโดยตัวผู้สมัคร ส.ส. และทีมงานช่วยหาเสียง


                          6.  การปราศรัยหาเสียงใหญ่โดยการนำาของหัวหน้าพรรคพร้อมคณะแกนนำาพรรค


                          การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนั้นในกลุ่มผู้สมัคร ส.ส.ของพรรคขนาดกลางและเล็กให้ความสำาคัญ
                  กับการนำาแนวทางเป็นหลัก ประกอบด้วย ข้อ 1, 2, 3 และ 4 ด้วยเป็นผลมาจากปัจจัยเงินทุนสำาหรับหาเสียง

                  ที่มีน้อยกว่าผู้สมัครฯ ที่สังกัดพรรคการเมืองขนาดใหญ่

                          ทั้งนี้การเข้าถึงประชาชนในพื้นที่หมู่บ้านและชุมชนนั้นนับว่ามีความสำาคัญต่อการเลือกตั้งเป็นอย่างมาก

                  และถือเป็นสูตรการหาเสียงที่สำาคัญที่ต้องดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง ด้วยเป็นการแสดงถึงความจริงใจในการ

                  ทำางานการเมือง โดยฐานะ ส.ส. คือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการช่วยเหลือส่งเสริมและติดตามนโยบายของรัฐบาล
                  รวมถึงการพิจารณากฎหมายที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน (คามิน ปั้นเหน่งเพ็ชร, สัมภาษณ์ 2562)






                          กำรเสนอนโยบำย รูปแบบและกลยุทธ์อื่น ๆ ที่ไม่ปรำกฏ เช่น กำรซื้อเสียง
                  กำรใช้อิทธิพลผ่ำนหน่วยงำน กำรแทรกแซงด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ


                          การนำาเสนอนโยบายของบรรดาผู้สมัคร ส.ส. จังหวัดกาญจนบุรีนั้น โดยทั่วไปแล้วจะให้ความสำาคัญ

                  กับนโยบายของพรรคที่ตนเองสังกัดมาใช้ในการหาเสียง โดยยืนยันและให้เหตุผลถึงความเป็นได้ในการนำา
                  นโยบายของพรรคไปสู่การปฏิบัติหรือดำาเนินการทันที แต่มีข้อแม้ว่าต้องชนะการเลือกตั้งและได้เป็นรัฐบาล

                  ในกลุ่มผู้สมัครฯ จากพรรคขนาดใหญ่นั้น คำายืนยันดังกล่าวเป็นเสมือนคำามั่นมั่นสัญญาที่ให้ไว้กับประชาชนในพื้นที่
                  ให้สนับสนุนตนและพรรค ซึ่งเท่ากับ “การสนับสนุนนโยบาย” ของพรรค และสามารถนำาไปสู่การปฏิบัติได้ทันที
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84