Page 143 - kpiebook62004
P. 143
บทบาทนานาชาติต่อกระบวนการสร้างสันติภาพในชายแดนใต้ของไทยและบางมุมมองต่อภาพอนาคต
องค์กรที่ไม่ใช่รัฐ (Non Governmental Organization – NGO) จึงไม่อำจจะพูดแทนรัฐบำลมำเลเซียได้ แต่
กำรเข้ำมำท ำงำนในชำยแดนใต้ก็เพรำะเป็นเพื่อนบ้ำนที่มีประวัติศำสตร์ร่วมต่อกันมำแต่ก็มีบทบำทในกำร
ผลักดันเชิงนโยบำยเพื่อกำรแก้ปัญหำไม่มำกนักด้วยเป็นประเด็นที่มีควำมละเอียดอ่อนต่อควำมสัมพันธ์สอง
ประเทศ และองค์กร MRA เองก็ท ำงำนในพื้นที่ควำมขัดแย้งที่อื่น ๆ ด้วย เช่น ในคำบสมุทรบอลข่ำน บอสเนีย
เฮอร์เซโกวีนำ เชชเนีย และโซมำเลีย เป้ำหมำยของกำรเข้ำมำท ำงำนในพื้นที่ชำยแดนใต้ก็เพื่ออยำกสร้ำงพื้นที่
และโอกำสที่ภำครัฐกับภำคประชำสังคม ตลอดจนเครือข่ำยภำคประชำสังคมในประเทศอำเซียนด้วยกันจะ
ร่วมมือกันท ำงำนแก้ปัญหำด้วยกันได้โดยเน้นย้ ำที่กำรท ำงำนแบบมีส่วนร่วมกับผู้คนในพื้นที่ชำยแดนใต้
มำกกว่ำที่จะเข้ำมำเป็นผู้ก ำหนดวำระหรือประเด็นในกำรท ำงำน เพรำะเขำเห็นว่ำ กำรสร้ำงสันติภำพต้องมำ
จำกกำรมีส่วนร่วมของประชำชนคนในพื้นที่เป็นหลัก (คอยริล อันวำร์ คอลิด, 2556: 90-97)
กล่ำวอย่ำงกระชับ ด้วยข้อจ ำกัดในกำรเข้ำถึงผู้ให้ข้อมูลที่เป็นตัวแสดงประเภทต่ำง ๆ จำกนำนำชำติ
ข้ำงต้น ท ำให้กำรวิเครำะห์ในเชิงลึกต่อบทบำทของตัวแสดงนำนำชำติต่อกระบวนกำรสันติภำพชำยแดนใต้ของ
ไทยมีข้อจ ำกัดอยู่มำก และควรยิ่งที่จะต้องมีกำรศึกษำวิจัยต่อไปในอนำคต
99