Page 88 - kpiebook62002
P. 88

ความร่วมมือในด้าน
                   ข้อตกลง          Prosecution           Protection        Prevention         อื่นๆ
                   ทวิภาคี
                             (การด าเนินคดีและบังคับใช้กฎหมาย)   (การคุ้มครอง)   (การป้องกัน)
                 ไทย-เวียดนาม  -  ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน  -  ปฏิบัติต่อเหยื่อการค้า -  ปรับปรุงแก้ไข  เหยื่อจากการค้ามนุษย์
                              บังคับใช้กฎหมายเพื่อสืบสวน  มนุษย์อย่างมี   กฎหมายให้สอดคล้อง ไม่ต้องรับโทษจากการ
                              สอบสวนผู้กระท าความผิดอย่าง  มนุษยธรรม      กับระเบียบหรือกติกา เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
                              จริงจัง                 -  ปรับปรุงกฎหมายที่  ระหว่างประเทศด้าน  และได้รับการดูแลจาก
                            -  ประสานความร่วมมือด้าน    เกี่ยวข้องเพื่อเป็น  สิทธิมนุษยชน    กระทรวงการพัฒนา
                              กระบวนการทางศาล รวมถึงหน่วย  หลักประกันการให้  -  มีมาตรการในการ  สังคมและความมั่นคง
                              ราชการที่เกี่ยวข้องของรัฐภาคีทั้ง  ความช่วยเหลือแก่  ป้องกันด้านอื่นๆ ด้วย ของมนุษย์ของไทย และ
                              สอง                       เหยื่อค้ามนุษย์ในด้าน  การเพิ่มบริการทาง  กระทรวงความมั่นคง
                                                        ต่างๆ รวมถึงการ   สังคม การจัด   สาธารณะของเวียดนาม
                                                        เข้าถึงกระบวนการ  โครงการการศึกษา
                                                        ทางกฎหมาย         และการฝึกอาชีพ
                                                                        -  การส่งเสริมให้สังคม
                                                                          เกิดความตระหนักใน
                                                                          ปัญหาการค้ามนุษย์

               หมายเหตุ: จากข้อมูลใน ปัญหาการค้ามนุษย์ในไทย (น. 36-40) โดย ศิบดี นพประเสริฐ และ สุทธิพงศ์ วรอุไร, 2559, จุลสารความมั่นคงศึกษา,
               176-177. สืบค้นเอกสารบันทึกความเข้าใจ/ข้อตกลงระหว่างไทยกับประเทศเหล่านี้ได้จาก กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย, “ระบบทะเบียนข้อมูล
               สนธิสัญญาและตราสารทางกฎหมายที่เกี่ยวกับสนธิสัญญา,” http://thaitreatydatabase.mfa.go.th





                       ส่วนในกรณีของปัญหาการค้ามนุษย์ในแรงงานประมงที่ที่มีหน่วยงานของสหภาพยุโรปติดตามการ

               แก้ไขปัญหาประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) นั้น ไทยมีความร่วมมือ
               ทั้งกับประเทศต่างๆ ในรูปแบบบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการประมง

               ทั้งระบบ ซึ่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการท าประมงผิดกฎหมาย (Command Center for Combating

               Illegal Fishing) ของไทยสรุปข้อมูลไว้เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2016 ว่า ไทยมีความร่วมมือกับประเทศเพื่อน
               บ้านและประเทศในอาเซียนก้าวหน้าไปมากทั้งกับกัมพูชา เวียดนาม มีเพียงบางประเทศในขณะนั้นอย่างลาวที่

               รอผลการพิจารณาร่างบันทึกความเข้าใจ มีเพียงมาเลเซียและเมียนมาที่รอผลการตอบรับเพื่อพัฒนาความ

               ร่วมมือกันต่อไป (ดู ตารางที่ 2.6)
                       ความร่วมมือทวิภาคีของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคถือว่ามีรูปแบบที่เป็นรูปธรรม มีพื้นฐาน

               ความร่วมมือที่อยู่ในรูปแบบข้อตกลงทั้งที่เป็นบันทึกความเข้าใจ (MOU) ความตกลง บันทึกความร่วมมือ

               ข้อตกลงเสริม ซึ่งชี้ให้เห็นว่าไทยเป็น “ศูนย์รวม” (hub) ของความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสมรรถนะในการแก้ไข
               ปัญหาการค้ามนุษย์ในภูมิภาค








                                                           [72]
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93