Page 64 - 30423_Fulltext
P. 64

58



                       องค์กรก ากับกีฬาอาจใช้อ านาจตามกฎกติกาท าการลงโทษทางวินัย ในท านองที่ปรามไม่ให้องค์กร
                       ก ากับกีฬา สโมสรกีฬา นักกีฬาหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ที่อยู่ภายใต้การก ากับควบคุมของตน

                       กระท าผิดกฎหมายบ้านเมืองเพราะเกรงกลัวที่จะได้รับการลงโทษจากองค์กรก ากับกีฬา นั้น

                       หมายความว่ากฎกติกาที่ออกมาโดยองค์กรก ากับกีฬาในทุกระดับชั้นพึงต้องสอดคล้องและเป็นไปตาม
                       กฎหมายที่ออกมาโดยประเทศอังกฤษ รวมทั้งอาจก าหนดกลไกที่สอดรับหรือมาตรการที่เกื้อหนุนกับ

                       กฎหมายของประเทศอังกฤษที่มีลักษณะเป็นข้อบังคับซึ่งก าหนดความประพฤติขององค์กรก ากับกีฬา

                       สโมสรกีฬา นักกีฬาหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในทางตรงกันข้ามหากกฎกติกาขององค์กรก ากับ
                       กีฬาในแต่ละชนิดกีฬาหรือในแต่ละการแข่งขันกีฬานั้น มีผลบังคับกับองค์กรก ากับกีฬา สโมสรกีฬา

                       นักกีฬาหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในลักษณะที่เป็นการทั่วไป หากกฎกติกานั้นมีผลกระทบต่อสิทธิ

                       เสรีภาพหรือผลกระทบในประโยชน์ด้านอื่น ๆ ขององค์กรก ากับกีฬา สโมสรกีฬา นักกีฬาหรือผู้มีส่วน
                       ได้ส่วนเสียอื่น ๆ ศาลยุติธรรมอังกฤษอาจใช้อ านาจวินิจฉัยในค าพิพากษา (judgment) ว่ากฎกติกา

                       ขององค์กรก ากับกีฬาขัดหรือแย้งกับเจตนารมณ์ของกฎหมายบ้านเมือง อีกทั้งศาลยุติธรรมอังกฤษ

                       อาจใช้อ านาจออกค าสั่ง (order of the court) ให้องค์กรก ากับกีฬากระท าการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อ
                       คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของนักกีฬาหรืองดเว้นกระท าการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพของ

                       นักกีฬา ระบบกฎหมายอังกฤษยอมรับนับถือกฎกติกาขององค์กรก ากับกีฬาระหว่างประเทศ โดยถือ

                       ว่านโยบายการกีฬา (Sports Policy) และกฎกติกาขององค์กรก ากับกีฬาภายในประเทศ โดยเฉพาะ
                       อย่างยิ่งองค์กรก ากับกีฬาที่เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนในลักษณะที่เป็นองค์กรในก ากับของรัฐ

                       (non-departmental public body) หรือองค์กรที่ขึ้นตรงกับรัฐ (departmental public body)

                                                                                        1
                       ล้วนแล้วแต่ต้องออกกฎกติกาหรือระเบียบข้อบังคับ (regulatory framework)  ไม่ให้ขัดหรือแย้งกับ
                       กฎหมายอังกฤษที่บังคับใช้อยู่แล้วและไม่ให้ขัดหรือแย้งกับระเบียบข้อบังคับขององค์กรก ากับกีฬา

                       ระหว่างประเทศที่เป็นองค์กรก ากับกีฬาสูงสุดหรือระดับบนสุดของล าดับชั้นการปกครองกีฬาแบบ

                       พีระมิด ตัวอย่างเช่น ส านักงานต่อต้านการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬา (UK Anti-Doping หรือ
                       UKAD) เป็นองค์กรในก ากับของรัฐที่มีอ านาจออกระเบียบว่าด้วยการต่อการต้านการใช้สารต้องห้าม

                       ทางการกีฬา (UK Anti-Doping Rules) และจัดท านโยบายระดับชาติว่าด้วยการต่อการต้านการใช้

                       สารต้องห้ามทางการกีฬา (National Anti-Doping Polity) โดยระเบียบดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้ง
                       กับระเบียบขององค์กรต่อการต้านการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬาโลก (World Anti-Doping











                       1  Governance in Sport Working Group, “The Rules of the G a m e” E u r o p e ’s first conference on

                       the Governance of Sport Brussels,” 26 & 27 February 2001, Accessed March 7, 2021,
                       https://www.fia.com/sites/default/files/basicpage/file/governance_sport.pdf
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69