Page 38 - 30423_Fulltext
P. 38

32



                              กฎหมายกีฬาที่องค์กรกีฬาไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐก ากับด้านกีฬา (Sports

                                                                                                  6
                       Government Agency) หรือองค์กรก ากับกีฬา (Sports Governing Bodies หรือ SGBs)  อาจใช้
                       อ านาจในฐานะฝ่ายปกครองหรืออาจใช้อ านาจในฐานะก ากับปกครองกีฬาตามแต่ละชนิดกีฬาหรือ

                       ก ากับการแข่งขันกีฬาในระบบต่าง ๆ ออกกฎระเบียบก าหนดความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                       ในแวดวงกีฬาด้วยกันกับรัฐหรือความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬาด้วยกันเอง
                       ความสัมพันธ์เช่นว่านี้ต้องมีแบบแผนเพื่อก ากับความประพฤติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬา

                       หรือก าหนดความสัมพันธ์ในสิทธิและหน้าที่ของผู้คนในสังคมกีฬาหรือสิทธิหน้าที่ระหว่างผู้มีส่วนได้

                       ส่วนเสียในแวดวงกีฬากับหน่วยงานของรัฐก ากับด้านกีฬาหรือองค์กรก ากับกีฬา โดยมีกระบวนการ
                       บังคับอย่างมีระเบียบแบบแผน โดยกฎระเบียบเช่นว่านี้ต้องมีสาระส าคัญ 5 ประการ ดังนี้ (ก)

                       กฎหมายกีฬาเป็นกฎหมายที่วางโครงสร้างของหน่วยงานของรัฐก ากับด้านกีฬาหรือองค์กรก ากับกีฬา

                       (ข) กฎหมายกีฬาเป็นกฎหมายก าหนดนิติสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐก ากับด้านกีฬาหรือองค์กร
                       ก ากับกีฬากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬา (หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามแต่ละชนิดกีฬา) (ค)

                       กฎหมายกีฬาเป็นกฎหมายที่มุ่งควบคุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬาให้ปฏิบัติตามมาตรฐานและ

                       จริยธรรมทางกีฬา (ตามแต่ละชนิดกีฬา) และให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยหน่วยงานของรัฐ
                       ก ากับด้านกีฬาหรือองค์กรก ากับกีฬาต้องสร้างการควบคุมและกระบวนการควบคุมผ่านการใช้อ านาจ

                       เหนือ (ง) กฎหมายกีฬาอาจก าหนดความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬา

                       ในฐานะที่เป็นเอกชนกับเอกชนด้วยกัน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬากับองค์กรก ากับกีฬาใน
                       ฐานะที่องค์กรก ากับกีฬาด าเนินการอย่างเอกชน แล้วการก าหนดความสัมพันธ์เช่นว่านี้ผูกพันกันด้วย

                       ข้อสัญญาหรือข้อตกลงว่าจะปฏิบัติระเบียบข้อบังคับขององค์กรก ากับกีฬา หากไม่ปฏิบัติตามก็จะ

                       ได้รับโทษอย่างหนึ่งอย่างใด และ (จ) กฎหมายกีฬาอาจมุ่งรับรองคุ้มครองสิทธิเสรีภาพสิทธิและอาจ
                       ก าหนดหน้าที่แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬาที่จะต้องปฏิบัติการตามที่กฎหมายรับรองและ

                       คุ้มครองให้ รวมถึงมีหน้าที่ที่จะไม่กระท าการหรือไม่ใช้อ านาจในทางที่มิชอบอันไปกระทบต่อสิทธิ

                       เสรีภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแวดวงกีฬาคนอื่น ๆ

                              กฎหมายกีฬาย่อมเป็นเกณฑ์มาตรฐานส าหรับรับรองกันทั่วไปกันในแวดวงกีฬา (Sports

                       Standard) ซึ่งอาจมีกระบวนการในการก าหนดและใช้กฎระเบียบในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการควบคุม
                       พฤติกรรมของผู้อยู่ในแวดวงกีฬา (หรือตามแต่ละชนิดกีฬา) อย่างมีระเบียบแบบแผนเพื่อประโยชน์

                                                                                     7
                       และสร้างความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดกีฬา (Sports Market)  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อ
                       เป็นการส่งเสริมให้เกิดประโยชน์สาธารณะด้านกีฬาต่อส่วนร่วม ไปพร้อมกับรับรองคุ้มครองสิทธิ



                       6  Ben Cisneros, “Challenging the call: Should sports governing bodies be subject to judicial
                       review?,” The International Sports Law Journal 20, no.2 (2020): 18-35.

                       7  Richard Parrish, Sports law and policy in the European Union, Manchester: Manchester
                       University Press, 2003.
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43