Page 63 - b29420_Fulltext
P. 63

การด าเนิน        หมู่บ้าน        min      max     average    ร้อยละของผู้ที่ได้  แปรผลความ
                  โครงการ                                                     คะแนนผ่านเกณฑ์    เปลี่ยนแปลง
                              อ.โพนทอง บ้ำน 5     76.79     90.95    78.99         100%             มำก

                              อ.โพนทอง บ้ำน 6     66.78     86.78    75.04         90%              มำก
                              อ.โพนทอง บ้ำน 7     74.28     88.09    83.92         100%             มำก

                              อ.สุวรรณภูมิ บ้ำน 1   21.19   52.62    40.21          0%              น้อย
                              อ.เมืองร้อยเอ็ด บ้ำน 1   6.19   71.19   43.64         5%              น้อย

                              อ.หนองฮี บ้ำน 1      7.86     72.62    41.83          5%              น้อย

                              อ.โพนทรำย บ้ำน 1    31.19     94.29    61.85         40%            ปำนกลำง
                              อ.ปทุมรัตน์เทศบำล 1   42.62   72.62    58.1          15%              น้อย

                              อ.โพนทอง บ้ำน 8     54.28     72.95    32.68          5%              น้อย
                              อ.หนองฮี บ้ำน 2     42.62     72.62    26.75          5%              น้อย

                พื้นที่ข้ำงเคียง   อ.เมืองร้อยเอ็ด บ้ำน 2   52.29   84.29   32.39   20%             น้อย
                              อ.โพนทรำย บ้ำน 2    25.12     66.79    26.49          0%              น้อย

                              อ.สุวรรณภูมิ บ้ำน 2   76.79   76.79    28.65          5%              น้อย


                       จากตารางที่ 7 จะเห็นได้ว่าพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขายเสียงมีสัดส่วน

               ของผู้ที่ได้คะแนนความรู้ความเข้าใจผ่านเกณฑ์มากกว่าพื้นที่ข้างเคียงก็จริง แต่ในรายละเอียดพบว่าจากพื้นที่

               เป้าหมาย 12 แห่ง มีเพียง 5 พื้นที่เท่านั้น ที่มีคะแนนความรู้ผ่านเกณฑ์ในระดับมากถึงปานกลาง จำแนกออกเป็น

               พื้นที่ที่มีความรู้ผ่านเกณฑ์ระดับมากมีจำนวน 3 แห่ง คือ พื้นที่เป้าหมาย อ.โพนทอง บ้าน 5 6 และ 7 พื้นที่ที่มี
               ความรู้ผ่านเกณฑ์ระดับปานกลางมีจำนวน 2 แห่ง คือ พื้นที่เป้าหมาย อ.โพนทอง บ้าน 1 และ อ.โพนทราย บ้าน 1

               นอกนั้นเป็นพื้นที่เป้าหมายที่มีความรู้เปลี่ยนแปลงไปในระดับน้อย ส่วนพื้นที่ข้างเคียงรายละเอียดชี้ให้เห็นว่ามี

               คะแนนความเปลี่ยนแปลงในระดับน้อยทั้ง 5 แห่ง


                       ข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่าการจัดเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจโครงการเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิ

               ขายเสียงสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจความสำคัญของการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ

               เลือกตั้ง และโทษที่จะได้รับหากไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเลือกตั้ง ให้แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่เป้าหมายที่เข้าร่วม
               โครงการได้ อย่างไรก็ตาม ความรู้ความเข้าใจที่กลุ่มตัวอย่างมีต่อโครงการก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่

               ดังปรากฎว่าไม่เสมอไปที่กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่เป้าหมายจะมีความรู้ความเข้าใจการเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อ

               สิทธิขายเสียงและไม่เสมอไปอีกเช่นกันที่พื้นที่ข้างเคียงจะไม่มีโอกาสเกิดความเข้าใจเรื่องการเลือกตั้งที่ดีมีคุณภาพ

               ดังปรากฎในเห็นว่า พื้นที่ข้างเคียง อ.เมืองร้อยเอ็ด บ้าน 2 กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกตั้งที่มี



                                                                                                           50
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68