Page 147 - 22665_Fulltext
P. 147

130







                                        “ที่นี่จะไม่มีความขัดแย้ง ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบจ. ผู้น าท้องถิ่น ผู้ท้องที่
                       จะมีอะไรพูดคุยกันตลอดและ ถ้าก านัน ผู้ใหญ่บ้านไม่มีงบ แต่เห็นว่าเรื่องนี้จ าเป็นต้องท า เป็นความ

                       เดือดร้อนเป็นการแก้ปัญหา เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชาวบ้าน  บอกมาก็ร่วมกันท า แล้วก็ไปหลาย ๆ
                       พื้นที่ เช่น ต าบลที่เชื่อมต่อกัน ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน”

                                        ในการบริหารงาน จะมีหลายช่องทางในการสื่อสาร ทั้งการประชุมออนไลน์และ
                       ออฟไลน์ รวมถึง การสื่อสารทางไลน์ให้กับทุกคนเข้าถึง จะมีไลน์รายงานสถานการณ์ ผู้บริหารจะอ่าน

                       ไลน์ โดยมีหัวหน้าส่วนในอบต.อยู่ด้วย (อภินันท์ เชาวลิต, สัมภาษณ์, 3 มีนาคม 2564)


                                        4) ความขัดแย้งสิ่งแวดล้อมและเตาเผาถ่าน

                                        ในอดีต เมื่อก่อนก็จะเป็นเรื่องกลิ่นเรื่องท ากรงนก ขี้ฝุ่น เสียง เดี๋ยวนี้ เรื่องกรงนก

                       ไม่มีแล้ว เมื่อก่อนมีทุกวัน แล้วที่ร้องกันก็เป็นญาติกันทั้งนั้น ในปัจจุบัน มีความขัดแย้งเรื่องเตาเผาถ่าน
                       ปัญหาเกิดจากเรื่องอื่น เป็นเรื่องไม่มีทางเข้าสวน แต่มาร้องเรียนเรื่องเตาเผาถ่าน ผู้น าใช้ความเป็น

                       ธรรมในการไกล่เกลี่ย ต้องประชาคมและใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาช่วยพิสูจน์ และต้องรู้สาเหตุที่
                       แท้จริงว่าเกิดจากอะไร

                                        “เราก็ใช้หลักความเป็นธรรมไกล่เกลี่ย เรื่องไหนที่เราตัดสินเองไม่ได้ก็ส่ง
                       หน่วยงานทางวิทยาศาสตร์เข้ามา กรมควบคุมมลพิษ เตาเผาถ่านอะไรพวกนี้ จริง ๆ บางเรื่องต้องเอา

                       หลักวิชาการมาจับให้เขาเห็นว่าจริง ๆ ไม่มี นอกจากการประชาคมต้องเชิญคนรอบข้าง เชิญผู้น ามาให้

                       เขาท าประชาคมในพื้นที่ ถ้าไม่จบก็เอาเครื่องมือ หน่วยงานที่เขามีเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์มาเพิ่ม
                       แล้วทีนี้ถ้าเกิดเขายังแรงโดยไร้เหตุผล ทีนี้สังคมจะตัดสินเขาเอง เราจะไม่เป็นคนตัดสิน ถ้าตัดสินอีกฝั่ง

                       หนึ่งรักชอบ อีกฝั่งหนึ่งไม่พอใจแน่นอนเราต้องเอาปัญหาออกมา มีความเป็นธรรมให้กับเขามากที่สุด”

                       (อภินันท์ เชาวลิต, สัมภาษณ์, 3 มีนาคม 2564)


                                        5) การจัดการความขัดแย้งจากการสร้างโรงพยาบาล
                                        การสร้างโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีมูลค่าสูง ผู้น า

                       ชุมชนร่วมพูดคุยกันถึงประโยชน์ร่วมกันของคนในชุมชน ต้องเสร็จทันเวลาและห้ามท าร้ายกันจากเรื่อง
                       ผลประโยชน์ ดังที่ผู้น าชุมชนให้สัมภาษณ์ว่า

                                        “การสร้างโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ราคา 4,000 – 5,000 ล้านบาท ก็เรียก

                       ผู้น าชุมชนมานั่งคุยกัน เห็นต้องกันว่าเป็นประโยชน์กับคนในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะคน
                       อ าเภอท่าศาลา ต้องเสร็จตามก าหนด ตะปูแค่ดอกเดียวเราก็ไม่ให้หาย แต่ว่าทุกอย่างถ้าไม่เสร็จตาม

                       ก าหนด คือภัยธรรมชาติเท่านั้น  ไม่ต้องใช้กฎหมายอะไร ใช้การพูดคุยกันบอกกล่าวให้ทราบว่านายก

                       ฯ เอต้องการแบบนี้ ก านันวีต้องการแบบนี้ เขาอยากเห็นบ้านเมืองเจริญ แต่ว่าเราพูดคุยกันเสร็จหมด
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152