Page 155 - kpi21365
P. 155
1 หมายถึง มีแนวคิดว่าควรจะมีการด าเนินงานในประเด็นดังกล่าว แต่ยังไม่มี
แนวทางด าเนินงานที่ชัดเจน
2 หมายถึง มีการก าหนดแนวทางด าเนินงาน แต่ยังไม่ได้ก าหนดตัวชี้วัดการ
ด าเนินงานในประเด็นดังกล่าว
3 หมายถึง มีการก าหนดแนวทางและตัวชี้วัดการด าเนินงาน แต่ขาดระบบและกลไก
ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
4 หมายถึง มีการก าหนดแนวทาง ตัวชี้วัดการด าเนินงาน ระบบและกลไกในการ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลในประเด็นดังกล่าว
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการ ลักษณะของเครื่องมือเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิด เพื่อให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่
สอดคล้องและเป็นไปตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย ลักษณะของเครื่องมือเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิด เพื่อให้
ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
2. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยมีขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือการวิจัย ดังนี้
1) ศึกษาแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2) สังเคราะห์นิยามและความหมาย
3) สังเคราะห์องค์ประกอบของการวัด
4) ท าการบูรณาการนิยามและข้อค าถาม
3. การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
เนื่องจากคณะผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูล
จึงท าให้ต้องมีการหาคุณภาพเครื่องมือ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส าคัญขั้นตอนหนึ่งที่คณะผู้วิจัยจะพัฒนาเครื่องมือ
ดังกล่าวให้มีความเที่ยงตรง (Validity) และมีความเชื่อถือได้ (Reliability) (Kerlinger & Lee, 2000 : 98-
101) โดยการหาคุณภาพเครื่องมือของการวิจัย สามารถแบ่งได้ 2 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความสอดคล้องของรายการค าถาม ด้วยวิธีการหาค่าความ
ตรงเชิงเนื้อหา (IOC: Index of Item Objective Congruence) โดยการให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน ท า
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
136
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ