Page 160 - kpi21365
P. 160

สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล

                                สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสัญลักษณ์ทางสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย

                     เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการสื่อสารความหมายต่อสัญลักษณ์ที่ผู้วิจัยใช้เป็นตัวแทนของผลการ

                     วิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเพื่อให้เกิดความเข้าใจ คณะผู้วิจัยจึงได้ก าหนดเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์
                     ข้อมูล ซึ่งมีดังต่อไปนี้

                             n   หมายถึง   จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

                             f   หมายถึง  ค่าความถี่ (Frequency)
                             %  หมายถึง  ร้อยละ (Percentage)

                             r    หมายถึง  ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณแบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation

                     Coefficient) ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปรตาม
                             F   หมายถึง   ค่าสถิติที่ใช้เปรียบเทียบค่าวิกฤตการแจกแจงแบบ F-Distribution

                                 df     หมายถึง    ค่าที่ระดับความเป็นอิสระของการผันแปร (Degree of Freedom)

                             SS     หมายถึง    ผลบวกก าลังสองของค่าเฉลี่ย (Sum Squares)
                             MS   หมายถึง    ค่าเฉลี่ยของผลบวกก าลังสอง (Mean Square)

                             Sig. หมายถึง    ค่าระดับนัยส าคัญทางสถิติซึ่งแสดงถึงการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานของการ

                     ทดสอบทางสถิติ หรือสมมติฐานการวิจัย
                             *
                                  หมายถึง    การมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
                              **      หมายถึง    การมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01


                     2. กำรวิจัยเชิงคุณภำพ


                             กลุ่มเป้ำหมำย


                            กลุ่มเป้าหมายผู้ให้ข้อมูลส าคัญที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณครั้งนี้ ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่  1

                     ตัวแทนหน่วยงานที่ท าหน้าที่ในการวางแผนและน ายุทธศาสตร์ชาติไปปฏิบัติระดับนโยบาย และกลุ่มที่ 2

                     ตัวแทนหน่วยงานที่ท าหน้าที่ในการน ายุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
                     ภาครัฐในส่วนภูมิภาคระดับปฏิบัติ นักวิชาการและภาคประชาสังคม รวมทั้งสิ้น 71 คน ดังนี้








                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
                                                                                                         141
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165