Page 162 - kpi21365
P. 162
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
1. กำรสัมภำษณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง (In-
depth Semi-Structured Interview Form) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปของการสัมภาษณ์
ตอนที่ 2 เป็นแแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการด าเนินการ สภาพปัญหาและอุปสรรคในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย และข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการ
ปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นไปตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย
2. กำรสนทนำกลุ่ม
เครื่องมือที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม ได้แก่ แบบบันทึกประเด็นการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับ
การด าเนินการ สภาพปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐ
ตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐใน
ประเทศไทย และข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นไปตามเป้าหมายของ
ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
คณะผู้วิจัยท าการติดต่อกลุ่มเป้าหมายเพื่อนัดหมายก าหนดวัน เวลา และสถานที่ในการสัมภาษณ์
และการสนทนากลุ่ม โดยได้ขี้แจงวัตถุประสงค์vขอบเขตการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม เพื่อท าการเก็บ
รวบรวมข้อมูลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นน ามาท าการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
หลังจากขั้นตอนการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มแล้ว คณะผู้วิจัยน าข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผล
โดยน าข้อมูลที่ได้มาท าดัชนีข้อมูล แจกแจงและจัดหมวดหมู่ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยบรรยาย
รายละเอียดของเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ตามที่รวบรวมไว้เสียก่อน จ าแนกและจัดระบบข้อมูล
(Typology and Taxonomy) เป็นการน าข้อมูลที่ได้มาจ าแนกและจัดหมวดหมู่ออกเป็นระบบวิเคราะห์สรุป
อุปนัย (Analytic Induction) เป็นการน าข้อมูลที่ได้จากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มาวิเคราะห์เพื่อหา
บทสรุปร่วมกันของเรื่องนั้น วิเคราะห์ส่วนประกอบ (Componential Analysis) เป็นการน าข้อมูลที่ได้มา
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
143
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ