Page 163 - kpi21365
P. 163
ท าการวิเคราะห์ออกให้เห็นเป็นส่วน ๆ วิเคราะห์เหตุและผล (Cause and Effect Analysis) โดยน าข้อมูล
ที่ได้มาวิเคราะห์ให้เห็นว่าผลเกิดมาจากเหตุปัจจัยใดบ้าง หลังจากนั้นจึงท าการสรุปในเชิงพรรณนาความ
ต่อไป
การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล
1. ตรวจสอบข้อมูลว่าข้อมูลที่ได้มามีความเพียงพอหรือไม่ โดยพิจารณาจากการอิ่มตัวของ
ข้อมูล ข้อมูลที่ได้มาตอบค าถามในการวิจัยได้หรือไม่ ในกรณีของข้อมูลไม่ตรงกันต้องตรวจสอบดูว่า ข้อมูลที่
แท้จริงเป็นอย่างไร โดยใช้วิธีการตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (Data Triangulation) คือ การพิสูจน์ความ
ถูกต้องของข้อมูล โดยวิธีการตรวจสอบคือการสอบแหล่งของข้อมูล ได้แก่ แหล่งเวลา แหล่งสถานที่ และ
แหล่งบุคคล ว่าถ้าต่างเวลา ต่างสถานที่ และต่างบุคคลที่ให้ข้อมูลที่ได้มีความแตกต่างกันหรือไม่
2. ใช้การตรวจสอบข้อมูลจากระเบียบวิธีวิจัยที่ต่างกัน โดยท าการสังเกตพฤติกรรมของ
ผู้ให้ข้อมูลขณะท าการสัมภาษณ์โดยสังเกตจากสีหน้า ท่าทาง ขณะให้ข้อมูลพฤติกรรมที่แสดงออก และใช้
วิธีการสอบถามโดยใช้ค าถามเดิมซ้ า เพื่อตรวจสอบความตรงกันของค าตอบที่ได้ในครั้งแรก รวมถึงการวิจัย
ครั้งนี้ยังใช้การสนทนากลุ่มเพื่อตรวจทานข้อมูลอีกครั้ง
3.กำรน ำเสนองำนวิจัย
การน าเสนองานวิจัย ประกอบด้วย
บทที่ 1 บทน า
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ในบทที่ 4 เป็นกำรน ำเสนอผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลต่อไป
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
144
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ