Page 156 - kpi21365
P. 156

การตรวจสอบความสอดคล้องของรายการค าถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งมีเกณฑ์ในการตรวจ
                     พิจารณาความสอดคล้องของรายการข้อค าถาม (Merriam, 1998 : 141) ดังนี้

                                                  ให้คะแนน +1   ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์

                                                  ให้คะแนน  0    ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อค าถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์
                                                  ให้คะแนน -1    ถ้าแน่ใจว่าข้อค าถามวัดได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์

                                            หลังจากนั้นน าผลคะแนนที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญมาค านวณหาค่า IOC ตามสูตร

                     โดยก าหนดเกณฑ์ในการแปลผล ดังนี้ (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561 : 23)
                                                  - ข้อค าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่   .50 - 1.00 มีค่าความตรงใช้ได้

                                                  - ข้อค าถามที่มีค่า IOC ต่ ากว่า .50          ต้องปรับปรุง ยังใช้ไม่ได้

                                            ผลการประเมินความตรงเชิงเนื้อหา ได้ค่าความตรงระหว่าง 0.80-1.00 ซึ่งถือ
                     ว่าข้อค าถามนั้นใช้ได้

                                       ขั้นตอนที่ 2 การหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย โดยคณะผู้วิจัยน าแบบสอบถาม

                     ที่ผ่านการพิจารณาความสอดคล้องของรายการค าถามจากผู้เชี่ยวชาญ ไปท าการทดลองใช้ (try out) กับ
                     กลุ่มบุคคลซึ่งมีคุณลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย จ านวน 30 ชุด เพื่อน าไปวิเคราะห์หาค่า

                     ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธี

                     ของ Cronbach โดยยอมรับค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัยทั้งฉบับตั้งแต่ > 0.80 ขึ้นไป และยอมรับค่า
                     ความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัยในรายข้อตั้งแต่ > 0.20 ขึ้นไป (Cronbach, 1990 : 161)

                                       ผลการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .984


                            กำรเก็บรวบรวมข้อมูล


                                คณะผู้วิจัยก าหนดทีมงานในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยออกจดหมายไปยังองค์กรภาครัฐที่เป็น

                     กลุ่มตัวอย่าง และน าแบบสอบถามไปแจกและเก็บกลับมาตามจ านวนที่ก าหนด หลังจากนั้นน ามาตรวจสอบ
                     ความถูกต้องของแบบสอบถามและน ามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติต่อไป


                             กำรวิเครำะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล


                               การวิจัยเพื่อติดตามผลการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา
                     ระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย ครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้มีขั้นตอนในการวิเคราะห์

                     ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้



                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
                                                                                                         137
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161