Page 428 - kpi21190
P. 428

428



               แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ระยะห้าปีในช่วงปี พ.ศ. 2560-2564 รวมทั้งมี                                  สถานการณ์การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะในขณะนี้ คณะกรรมการขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ
               การออกคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 267/2560 เรื่อง “แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเมือง                         ได้พิจารณาแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ  โดยกำหนดเป้าหมายเมืองอัจฉริยะ ออกเป็น
               อัจฉริยะ” เพื่อดูแลการขับเคลื่อนวาระดังกล่าวให้เกิดผล  โดยพลอากาศเอกประจิน จั่นตอง                          2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกเป็น “เมืองน่าอยู่” หรือเมืองอัจฉริยะในแบบเมืองเดิมและกลุ่มที่สองเป็น
               รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการและสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลภายใต้                                “เมืองใหม่อัจฉริยะ”โดยกำหนดเป้าหมายการพัฒนาในปีที่ 1 จำนวน 7 เมือง ปีต่อมาจำนวน
               กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็นองค์กรหลักในการร่วมขับเคลื่อน มีพื้นที่นำร่องจำนวน                   8 เมือง และตั้งแต่ปีที่ 3 ถึงปีที่ 5 จำนวน 25 เมือง  โดยเปิดโอกาสให้เมืองที่สนใจเข้าสู่

               7 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก                         กระบวนการพัฒนาเป็นเมืองอัจฉริยะ ซึ่งต้องเริ่มจากการประเมินความพร้อมของตนเองก่อน
               (EEC) ทั้ง 3 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา รวมถึงกรุงเทพมหานครด้วย นอกจากนี้                       และเข้าขั้นตอนการประเมินเมืองตามเกณฑ์ 8 ข้อ  จากนั้นจะได้เข้าสู่กระบวนการขับเคลื่อนเมือง
                                                                                                                                                                     1
               การจัดทำแผนแม่บทเมืองอัจฉริยะ 6 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) ระบบ                           อัจฉริยะ และใช้กลไกความร่วมมือจากการลงทุนของภาคเอกชน ร่วมกับ คณะกรรมการ
               ขนส่งและการสื่อสารอัจฉริยะ (Smart Mobility) พลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart                            ส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) และการสนับสนุนของภาครัฐในการให้สิทธิประโยชน์สูงสุดเพื่อดัน
               Energy & Environment) ระบบบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) พลเมืองอัจฉริยะ                           เมืองอัจฉริยะของไทย ยกระดับเทียบเท่ามาตรฐานสากลในอนาคต (สำนักงานนโยบายและแผน
               (Smart People) และการดำรงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living) (รัฐบาลไทย, 2561; สำนักงาน                            พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2561)

               ส่งนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล,” 2561)
                                                                                                                           3. กลุ่มผลประโยชน์ในฐานะผู้ผลักดันนโยบายสาธารณะ


                                                                                                                                แนวคิดสำคัญที่เป็นรากฐานของการศึกษา “กลุ่มผลประโยชน์” ประกอบด้วย แนวคิดหลัก
                                                                                                                           3 ด้าน นั่นคือ แนวคิดพหุนิยมและแนวคิดพหุนิยมใหม่ แนวคิดชนชั้นนำ และแนวคิดการ
                                                                                                                           แลกเปลี่ยน


                                                                                                                           3.1 แนวคิดพหุนิยมและแนวคิดพหุนิยมใหม่

                                                                                                                                กล่าวคือ “แนวคิดพหุนิยม” เชื่อว่า ในสังคมหนึ่ง ๆ ประกอบไปด้วยกลุ่มต่างๆ มากมาย
                                                                                                                           ทำให้อำนาจในการผลักดันหรือกำหนดนโยบายจึงกระจายไปยังกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ตาม

                                                                                                                              1   หลักเกณฑ์การประเมินการออกแบบเมืองอัจฉริยะ มี 8 หมวด และมีจุดเน้นสำคัญ ดังนี้
                                                                                                                                  1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart energy) มุ่งเน้นระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะการลดการปลดปล่อย
                                                                                                                           คาร์บอน และการส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้า
                                                                                                                                  2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart mobility) มุ่งเน้นการวางผังโครงสร้างพื้นฐานของระบบพลังงาน ระบบ
                                                                                                                           การขนส่งสาธารณะ การจัดเตรียมสถานพยาบาลและระบบฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังประกอบด้วย โครงสร้างพื้นฐานของ
                                                                                                                           ระบบบริหารจัดการอัจฉริยะในทุกด้าน
                                                                                                                                  3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart community) มุ่งเน้นการส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้าน
                             ่มา Smart Growth Thailand (2560)
               ที่มา Smart Growth Thailand (2560)                                                                          ความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ การศึกษา การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ
                                                                                                                                4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart environment) มุ่งเน้นการรักษาสภาพแวดล้อม และแหล่งผลิตอาหาร


        บทความที่ผ่านการพิจารณา                                                                                               การลงทุน และการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
                                                                                                                           ในเมือง
                                                                                                                                5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy) มุ่งเน้นส่งเสริมการสร้างโมเดลทางธุรกิจ นวัตกรรมรูปแบบ

                                                                                                                                6. อาคารอัจฉริยะ (Smart building) มุ่งเน้นส่งเสริมการผ่านเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของสถาบัน


                                                                                                                           อาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ระบบอาคารและบ้านอัจฉริยะ

                                                                                                                                7. การบริหารจัดการเมืองแบบอัจฉริยะ (Smart governance) มุ่งเน้นส่งเสริมหลักความเป็นเมืองอัจฉริยะ

                                                                                                                                8. นวัตกรรมอัจฉริยะ (Smart Innovation) นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ที่ไม่สามารถทำคะแนนได้หมวด 1-7

                                                                                                                                 ภาวะความเป็นผู้นำ ยุทธศาสตร์ โครงสร้างองค์กร กระบวนการบริหารจัดการ ระบบการวัดผลสำเร็จ
   423   424   425   426   427   428   429   430   431   432   433