Page 426 - kpi21190
P. 426

426



               2. แนวคิดเรื่องเมืองอัจฉริยะ (Smart City)                                                                  ทั่วโลก โดยผู้วิจัยสามารถสรุปใจความสำคัญของนิยามคำว่า “ เมืองอัจฉริยะ” ตามข้อเสนอของ
                                                                                                                          ดาเมอริ (Dameri) ฮอล์ (Hall) คาราเกลีย & เดลโบ & นิจแคมป์ (Caragliu & Delbo &

                    เมื่อกล่าวถึง “เมือง” ในฐานะการศึกษาในขอบข่ายของนโยบายการพัฒนาเมืองเป็นสิ่งที่                        Nijkamp) และคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
               ได้รับความสนใจมาเป็นระยะเวลานานแล้ว คำว่า “เมือง” มิได้มีการกำหนดคำนิยามหรือ                               ได้ว่า “เมืองอัจฉริยะคือเมืองที่ตอบสนองต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน บนรากฐาน
               ความหมายไว้อย่างตายตัว หากแต่ผันแปรไปตามบริบทของแต่ละประเทศว่าจะให้คำนิยามเป็นไป                           ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อขับเคลื่อน
               ในทิศทางใด หากพิจารณาในมิติของกระบวนการเป็นเมืองก็ย่อมสังเกตได้จากการเปลี่ยนวิถีจาก                        การพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมทั้งมิติทางด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจและด้านสิ่งแวดล้อม”
               สังคมเกษตรสู่สังคมที่มีประชากรหนาแน่นมากขึ้น  (นิธินันท์ วิศเวศวร, 2552) หากแต่ทั้งนี้                     (ฤทัยชนก เมืองรัตน์, 2561)
               ทั้งนั้นจำเป็นต้องพิจารณาเงื่อนไขอื่น ๆ ประกอบกันด้วย เช่น การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ                               สาระสำคัญของการเป็นเมืองอัจฉริยะ อยู่ที่เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์การมอง

               ประชาชน การพัฒนาสาธารณูปโภค การพัฒนาขนส่งมวลชน เป็นต้น (เกวลี  เพชรศรีชาติ,                                การพัฒนาเมืองเสียใหม่ ซึ่งเมืองในรูปแบบเดิมอาจตอบสนองความต้องการของคนยุคหนึ่งได้
               2560)                                                                                                      หากแต่ในปัจจุบันเมืองต้องมีประเด็นที่ต้องคำนึงถึงมากยิ่งขึ้น เมืองอัจฉริยะให้ความสำคัญตั้งแต่

                    การศึกษาคุณลักษณะของเมืองและการก่อตัวของเมืองของ หลุยส์ เวียต (Louis Wirth)                           การมองวิสัยทัศน์ของเมือง และการวางแผนยุทธศาสตร์เมือง โดยขับเคลื่อนสิ่งดังกล่าวจำเป็นต้อง
               ในปี 1938 มองปัจจัยด้านประชากรศาสตร์เป็นสำคัญ เขามองว่า เมื่อประชากรมาอยู่รวมกัน                           อาศัยการออกระบบ การบริหารและระบบเทคโนโลยีที่สอดคล้องกัน รวมถึงการพัฒนาทุนมนุษย์

               จำนวนมากย่อมส่งผลให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้                            ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเมือง นอกจากนี้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะยังมีความสำคัญต่อ
               ก่อให้เกิดความเป็นย่านและชุมชนต่าง ๆ มากมายที่ซ้อนทับอยู่ในเมืองๆหนึ่ง นอกจากนี้การดำรง                    การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในเมืองด้วย กล่าวคือ การวางแผนพัฒนาของเมืองจำเป็นต้อง
               ชีวิตของคนในเมืองย่อมมาจากปัจจัยสำคัญ 3 ปัจจัย ได้แก่ “ปัจจัยด้านขนาด” คือ เมื่อประชากร                    อาศัยปัญหาของประชากรแต่ละพื้นที่เป็นที่ตั้ง เพื่อให้การวางแผนสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
               มาอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากต่างคนต่างที่มาทำให้เกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูง จึงไม่ก่อ                       กับการพัฒนาเมือง (area-based development) การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานจำเป็นต้อง
               ให้เกิดการมีวัฒนธรรมร่วมของเมือง อีกทั้งการติดต่อสื่อสารระหว่างประชากรเมืองก็มักดำเนินไป                   ดำเนินการควบคู่ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย แนวคิดนี้
               ในลักษณะของความเป็นทางการ จึงไม่ปรากฏวิธีการสื่อสารอย่างมีความสนิทเหมือนดังในสังคม                         จึงเน้นให้ความสำคัญทั้งมิติการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเมืองควบคู่ไปกันกับการมุ่งเน้น
               เกษตรชนบท ต่อมาปัจจัยที่สอง คือ ปัจจัยด้านความหนาแน่นของประชากร ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง                       ตอบสนองความพึงพอใจของคนเมือง (เอกชัย สุมาลี และชัยวุฒิ ตันไชย, 2562)

               กับปัจจัยแรก เมื่อคนมาอยู่อาศัยหนาแน่นขึ้นก็ย่อมส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ที่ลดลง และภายใน                        การขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะเริ่มขยับเข้ามาใกล้ทางแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
               เมืองก็ถูกแบ่งออกเป็นอาณาบริเวณต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ต่อการตอบสนองความต้องการของ                          มากขึ้น รัฐบาลของหลายประเทศมองเห็นความสำคัญที่จะต้องขับเคลื่อนเมืองให้เป็นไปตาม
               คนเมืองที่แตกต่างกันออกไป ส่วนปัจจัยที่สามคือปัจจัยด้านความหลากหลายของประชากร                              ทิศทางดังกล่าว  หากแต่เมืองอัจฉริยะมักถูกพัฒนาเพียงแค่ในเมืองหลวงเท่านั้น ซึ่งแตกต่างกับ
               เนื่องจากประชากรที่มาอยู่รวมกันมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกันและการเข้ามาอยู่รวมกันในเมือง                     ทางฝั่งประเทศแถบยุโรปที่มีมากกว่าแค่เมืองหลวง จุดเริ่มต้นของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะมาจาก
               ก็มีเป้าหมายที่แตกต่างกันออกไปด้วย การสื่อสารระหว่างกันและความแตกต่างของการดำเนิน                          การผลักดันของรัฐบาลไทยผ่านโครงการ “Smart Thailand” ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์
               ชีวิต ด้วยหลากหลายปัจจัยที่แตกต่างกันเหล่านี้ก็ย่อมส่งผลให้เกิดความขัดแย้งของคนในเมืองได้
                                                                                                                          ชินวัตร เพี่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขัน

                    แนวคิดเรื่องเมืองอัจฉริยะ (smart City) เป็นแนวคิดสำคัญในการพัฒนาเมืองในศตวรรษ                         โดยมีเป้าหมายพัฒนาประเทศไปสู่อนาคตที่มั่นคงและสมดุล ซึ่งภายหลังได้มีการสนับสนุนให้
               ที่ 21 เริ่มมีมานานแล้วในฝั่งยุโรปและอเมริกา นับแต่ปี พ.ศ. 2540 ในชื่อของ “เมืองเสมือนจริง                 ประชาชนเข้าถึงเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้สายมากขึ้น (wifi) แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วนใน
               (virtual city)” กล่าวคือ ในกลุ่มประเทศดังกล่าวมักเกิดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและ                      อนาคตการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างยั่งยืนนั้น รัฐบาลส่งเสริมให้มีบริการคลาวด์ภาครัฐ
                                                                                                                          (government cloud service) เพื่อสนับสนุนการสร้างระบบคลาวด์ (cloud) ให้ใช้ในหน่วยงาน
               สังคมในเมืองสูง ทำให้การเข้าถึงสาธารณูปโภคและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   เป็นไปได้ยาก แนวคิดเมืองเสมือนจริงจึงอาจตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยการนำเสนอ     ประกอบกับรัฐบาลก็ได้มีการส่งเสริมการสร้างระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการ
                                                                                                                          ราชการอย่างทั่วถึงกัน ภายใต้การกำกับดูแลและสนับสนุนของสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
               แนวทางการใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ชาวเมืองสามารถเข้าถึงการรับบริการและสามารถเชื่อมโยง
                                                                                                                          ใช้นวัตกรรมสู่การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และพร้อมขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวสู่จังหวัด
               ถึงกันได้ง่ายขึ้น และใช้เงินน้อยกว่าด้วย (ฤทัยชนก เมืองรัตน์, 2561)
                                                                                                                          อื่นๆ (อ้างถึงใน เกวลี  เพชรศรีชาติ, 2560)
                    แนวคิดการพัฒนาเมืองสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ ในอดีตมักมองว่าแนวคิดดังกล่าวเป็นเพียง
                                                                                                                               สำหรับรัฐบาลไทยวางแนวทางการดำเนินงานเรื่องนี้ผ่านการกำหนดแผนปฏิบัติการวาระ
               การวาดฝัน หากแต่ในยุคปัจจุบันนั้น การเชื่อมส่วนต่างๆ ของเมืองให้เข้ากับวิถีชีวิตของประชาชน
               ในแต่ละเมืองกลับกลายเป็นสิ่งสำคัญ แนวคิดนี้ถูกนำเสนอผ่านทั้งนักวิชาการและนักปฏิบัติจาก                     แห่งชาติ ด้านการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ไว้ในแผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนรายยุทธศาสตร์ของ
   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430   431