Page 431 - kpi21190
P. 431

431



 ข้อเสนอของ McFarland (อ้างถึงใน ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์, 2557) มองว่า กระบวนการ   ในรอบหลายปีที่ผ่านมา กระแสการพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้รับการตอบรับที่ดีและมีการ
 ในการกำหนดนโยบายไม่มีความแน่นอนสูงเพราะขึ้นอยู่กับปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงต่างๆ    นำเสนอข่าวบ่อยครั้งผ่านสื่อต่าง ๆ มากมาย การนำเสนอเรื่องดังกล่าว มักเป็นไปในลักษณะของ
 เข้ามาเกี่ยวข้องมากมาย อำนาจของแต่ละกลุ่มตัวแสดงเองก็แตกต่างกันตามไปด้วย นอกจากนี้  การกระจายแนวคิดการจัดตั้งบริษัทพัฒนาเมืองจังหวัดต่างๆ มากขึ้น ดังเช่น จังหวัดอุบลราชธานี
 การนิยามผลประโยชน์มักเป็นไปในลักษณะของ อัตวิสัยสูง (subjective) คือ เป็นการนิยาม   (วารีรักษ์ รักคำมูล และสุชัย เจริญมุขยนันท์, 2561) การนำเสนอโครงการต่างๆ ที่ถือเป็นส่วน
 ผลประโยชน์ตามเป้าหมายหลักของกลุ่มนั่นเอง  นอกจากนี้ข้อเสนอ “ทฤษฎีว่าด้วยความผันผวน   หนึ่งของการพัฒนาเมืองแท้จริงแล้วอาจแฝงเร้นไปด้วยผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ถือหุ้นหรือไม่

 (disturbance)” ของ Truman ในปี 1951 กล่าวถึง การรวมตัวกันของกลุ่มผลประโยชน์ว่าดำเนินไป  เพราะด้วยทุนจดทะเบียนนับหลายล้านบาทนั้น ทำให้โอกาสเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของผู้ถือหุ้นของ
 เพื่อตอบสนองต่อสภาวะความไม่แน่นอนทั้งทางด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ รวมถึงเพื่อ  บริษัทเป็นไปได้ยาก และส่งผลให้เกิดการผลักดันประเด็นการพัฒนาอื่นๆ ได้ยากเช่นกัน
 เป็นการรักษาผลประโยชน์แก่สมาชิกที่อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย กลุ่มผลประโยชน์มีคุณลักษณะสำคัญ
 อีกประการหนึ่ง คือ เป็นกลุ่มที่มีการแข่งขันกันสูง นั่นคือ ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัด ส่งผลให้กลุ่ม  เมื่อพิจารณาตามงานศึกษาของเอนก เหล่าธรรมทัศน์ (Laothamatas, 1992) เรื่อง
 ผลประโยชน์ต่างก็จำเป็นที่จะต้องเข้าแข่งขันแย่งชิงทรัพยากรมาอยู่กับกลุ่มของตนให้ได้มากที่สุด   “Business Associations and the New Political Economy of Thailand : From Bureaucratic
 (ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์, 2557)               Polity to Liberal Corporatism” จะเห็นได้ว่า ในช่วงปลายทศวรรษ 1970 เป็นต้นมา สมาคม
                  ธุรกิจถือเป็นกลุ่มผลประโยชน์นอกระบบราชการ (Extra-bureaucratic interest groups) ที่มี
 ส่วนข้อเสนอในปี 1994 ของแมคฟาแลนด์ (McFarland) ซึ่งเป็น “นักคิดสายพหุนิยมใหม่”   อิทธิพลอย่างมากในการกำหนดนโยบายสาธารณะของไทยโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจระดับ
 กล่าวถึง ปัจจัยที่กำหนดบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ต่อกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ   มหภาค ดังจะเห็นได้จากการมีดำริและผลักดันให้เกิดคณะกรรมการสำคัญอย่าง “คณะกรรมการ
 มี 3 ประการ (อ้างถึงใน ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์, 2557) นั่นคือ 1) การรักษาสถานภาพของ  ร่วมภาครัฐบาลและเอกชน (กรอ.)” ทำให้การพลิกโฉม จากเดิมที่ภาคธุรกิจเอกชนเป็นแต่เพียง
 กลุ่มผลประโยชน์ โดยการแสวงหาทรัพยากรและการผลักดันนโยบายสู่สังคม เพื่อให้สังคม  ผู้นำแนวทางหรือนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติมาสู่การเริ่มแทรกซึมเข้ามากำหนดนโยบายเอง

 ยอมรับกลุ่มของตนและขยายความสนใจเพื่อเป็นเครือข่ายของกลุ่มต่อไป 2) การให้ความสำคัญ  ซึ่งภาพเดิมตามงานศึกษาของระบบราชการไทยในช่วงก่อน 1970 (Riggs, 1966) แสดงให้เห็นว่า
 กับบทบาทของภาครัฐ ซึ่งสายพหุนิยมใหม่มองว่ารัฐเป็นผู้ริเริ่มและกำหนดกฎเกณฑ์หรือนโยบาย   ไทยเป็นรัฐไทยเป็นแบบ อำมาตยาธิปไตย  (bureaucratic polity) ซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน
 เพื่อให้ตัวแสดงอย่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งสายพหุนิยมมิได้ให้ความ  ถูกครอบงำโดยข้าราชการประจำ ทหาร และเทคโนแครต โดยกลุ่มคนเหล่านี้จะมีอิทธิพลต่อ
 สำคัญกับประเด็นนี้ 3) การให้ความสำคัญกับบทบาทของกลุ่มเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม    การริเริ่มนโยบายต่าง ๆ หากกลุ่มธุรกิจต้องการให้มีการออกนโยบายที่เอื้อต่อตนก็จะต้องเข้าหา
 ซึ่งสายพหุนิยมใหม่มองว่าภาคประชาสังคมเองก็ถือเป็นอีกตัวแสดงหนึ่งที่มีความสำคัญต่อ   กลุ่มข้าราชการและทหารเหล่านี้
 การกำหนดนโยบาย ซึ่งการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมมักผลักดันประเด็นเชิงนโยบายเฉพาะ
 กลุ่มที่สนใจ แต่มักเป็นไปในลักษณะของการเปลี่ยนแปลงนโยบายในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป   งานศึกษาของเอนกข้างต้นเกี่ยวข้องกับกรอบแนวคิดเรื่องบรรษัทนิยม (corporatism)
                  ซึ่งถือเป็นชุดคำอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ รวมถึงนโยบายของรัฐ
 3.2 แนวคิดชนชั้นนำ (Elitism)    กล่าวคือ กลไกการกำหนดนโยบายสาธารณะมักจะมีตัวแทนจากกลุ่มผลประโยชน์ที่ผูกขาดทาง

 ตามข้อเสนอของ Schattschneider (1960) มองว่า ผู้นำของกลุ่มเป็นผู้ก่อตั้งจึงมีฐานะ   ธุรกิจเข้าร่วมด้วย ซึ่งความสัมพันธ์ของทั้งภาครัฐและธุรกิจมีลักษณะเท่าเทียมกัน หากข้อตกลง
 ผู้ชี้นำทิศทางของกลุ่มผลประโยชน์ ในขณะที่สมาชิกเป็นผู้ตามเท่านั้น ไม่มีสิทธิ์นำเสนอแนวทาง  ออกมาในลักษณะเช่นไรก็จะส่งผลต่อการนำไปปฏิบัติทั้งสองฝ่ายด้วย ทำให้แนวคิดอำมาต-
 และอยู่ภายใต้การกำกับของผู้นำ นอกจากนี้กลุ่มผลประโยชน์ที่ถูกจัดตั้งขึ้นมานั้นก็มาจากผู้นำที่มี  ยาธิปไตย  (bureaucratic polity) ตามทัศนะของเอนกจึงไม่มีอีกแล้ว (Laothamatas, 1992;
 ฐานอำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจอยู่แล้ว ไม่ได้เกิดลอยๆ มาจากธรรมชาติ จึงทำให้ลักษณะ  พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, 2559)
 ของกลุ่มผลประโยชน์มิได้เป็นพหุนิยมแต่เป็นคณาธิปไตย นอกจากนี้ข้อเสนอของแดนิเลียนและ  เมื่อนำมาพิจารณาในกรณีของการกำหนดนโยบายเมืองอัจฉริยะจะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง

 เพจ Danielian & Page (1994) ที่ต้องการทดสอบทฤษฎีพหุนิยมว่าด้วยความเท่าเทียมกันของ  บรรษัทนิยมยังสามารถอธิบายปรากฏการณ์เช่นนี้ได้ เพราะการกำหนดนโยบายนี้จำเป็นต้อง
 กลุ่มผลประโยชน์ โดยเขาตั้งสมมติฐานว่า สื่อมวลชนมักนำเสนอประเด็นทางด้านนโยบายของ  อาศัยการผลักดันจากภาคธุรกิจเป็นสำคัญ การขับเคลื่อนเมืองในยุค Thailand 4.0 จำเป็นต้อง
 กลุ่มผลประโยชน์ขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันกลับเพิกเฉยข้อเสนอของกลุ่มผลประโยชน์ที่มีภาพ  อาศัยการวางโครงข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงกระบวนการต่างๆ ที่สามารถตอบสนองต่อ
 เชิงลบ โดยหากอยู่บนสมมติฐานเช่นนี้จะเห็นได้ว่ากลุ่มผลประโยชน์ทุกกลุ่มจะต้องสามารถ   การใช้ชีวิตของคนในเมืองได้จึงจำเป็นต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก การผลักดันให้เกิด   บทความที่ผ่านการพิจารณา
 นำเสนอประเด็นนโยบายเข้าสู่ความสนใจของผู้มีอำนาจได้อย่างเท่าเทียมกันหากแต่ในความเป็นจริง  การออกกฎหมายรองรับการจัดตั้งบริษัทพัฒนาเมืองจึงจำเป็นต้องใช้แรงผลักดันจากกลุ่มชนชั้นนำ
 กลุ่มผลประโยชน์ที่มีอิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าย่อมสามารถผลักดันได้ดีกว่ากลุ่มอื่นๆ   ท้องถิ่น
   426   427   428   429   430   431   432   433   434   435   436