Page 433 - kpi21190
P. 433

433



 4. แนวคิดการกำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในประเทศไทย   5. วิเคราะห์ อภิปรายตามนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ



 การก่อตัวและการกำหนดนโยบายสาธารณะของหลาย ๆ ประเทศรวมถึงไทย ส่วนใหญ่   สภาพปัญหาของเมืองแบบเดิมๆ ที่เกิดขึ้นตามจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย ไม่อาจ
 มาจากสภาพความรุนแรงของปัญหานั้นๆ หรือการมองเห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องผลักดัน  ตอบสนองต่อสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วปัจจุบัน ทำให้ตัวแสดงต่างๆ ต้องเข้ามา
 นโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่กำลังเกิดขึ้น นอกจากนี้การได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนหรือ  มีบทบาทนำในการสร้างวาระนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขึ้นมา ซึ่งมักปรากฏในลักษณะของ
 ภาครัฐบาล จะทำให้นโยบายเหล่านั้นมีโอกาสเข้าสู่วาระนโยบายและผลักดันสู่การปฏิบัติจริงได้    การเรียกร้องของคนในพื้นที่หรือกลุ่มทุนท้องถิ่นที่มีศักยภาพในการพร้อมพัฒนาเมือง เมื่อปัญหา
 โดยแนวคิดการก่อตัวของนโยบายที่มาจากการบรรจบกันของทั้ง 3 กระแสของ Kingdon   เริ่มชัดเจนก็ย่อมส่งผลต่อการสร้างสถาบันเพื่อแก้ไขปัญหา และการวางแผนการใช้จ่าย
 (Kingdon, 2003; นพดล อุดมวิศวกุล, 2560) ดังนี้     งบประมาณเพื่อนำมาแก้ปัญหาเหล่านี้


 4.1 กระแสปัญหา (Problem Stream)    การพัฒนาเมืองอัจฉริยะแม้จะได้รับความสนใจจากภาครัฐบาลมาก หากแต่ขาดการ

 เป็นการพิจารณาความสนใจต่อปัญหาของประชาชน และความสนใจต่อปัญหาเหล่านั้น   ขับเคลื่อนอย่างจริงจัง ทำให้หลายๆ พื้นที่ตัวแสดงนำกลับเป็นกลุ่มทุนท้องถิ่นหรือภาคประชาชน
 ในทัศนะของรัฐบาลในช่วงเวลานั้นๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเองก็มีมากมาย แต่มิใช่   ในภาพความเป็นจริง การผลักดันนโยบายนี้ให้เกิดขึ้น มักมีการนำเสนอในมิติของการตอบสนอง
 ทุกปัญหาจะถูกหยิบยกขึ้นมาแก้ไขและอาจถูกเพิกเฉย เราจึงมักได้รับทราบข่าวการสำรวจ   ต่อการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่และการเรียกร้องมักเกิดจากความต้องการของคนใน
 ความคิดเห็นของประชาชนผ่านสำนักโพลอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแบบสำรวจเกี่ยวกับปัญหาของประชาชน  จังหวัดนั้นๆ อย่างแท้จริง หากแต่นั่นเป็นเพียงข้ออ้างเพื่อความสมเหตุสมผลประการหนึ่งเท่านั้น
 มักได้รับความสนใจและถูกพูดถึงเมื่อเข้าสู่ช่วงใกล้การเลือกตั้ง    การก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมืองในหลายจังหวัด ถือเป็นการรวมเอากลุ่มทุนทั้งในระดับท้องถิ่น


 4.2 กระแสการเมือง (Political Stream)    และในระดับชาติเข้ามามีส่วนสำคัญในการผลักดันนโยบายเมืองอัจฉริยะให้เกิดขึ้นอย่างเป็น
                  รูปธรรม ด้วยการจัดตั้งบริษัทที่จำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก ทำให้ภาคประชาชน
 เป็นการพิจารณาปัญหาต่างๆ ในสังคมที่มีอยู่แล้ว และฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายการเมือง หรือฝ่ายที่  แทบไม่มีโอกาสเข้าไปถือหุ้นหรือมีส่วนสนับสนุนมากสมดังคำกล่าวอ้าง ประกอบกับการสร้าง
 มีอำนาจตัดสินใจกำหนดนโยบายสาธารณะนี้ จะนำปัญหาที่มีอยู่เหล่านั้นเข้ามาสู่กระบวนการ  เครือข่ายของกลุ่มผู้ก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมืองที่รวมเอาหลาย ๆ บริษัทเข้ามาด้วยกัน ย่อมส่งผลให้
 แก้ไขหรือไม่ ซึ่งมักเกิดจากการต่อรองระหว่างฝ่ายกำหนดนโยบายและกลุ่มผลประโยชน์ในสังคม    เกิดการผลักดัน ส่งเสริม หรือสนับสนุนให้นโยบายนี้เกิดขึ้นได้ ดังจะเห็นได้จากในปี 2560
 เช่น กลุ่มทุนท้องถิ่น นักธุรกิจ นักการเมือง สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น    กลุ่มทุนเหล่านี้ยื่นข้อเสนอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติตรากฎหมายส่งเสริมกิจการบรรษัทพัฒนา

 4.3 กระแสนโยบาย (Policy Stream)    เมือง ซึ่งจากการให้สัมภาษณ์ของนายฐาปนา บุณยประวิตร อุปนายกสมาคมการผังเมืองไทย
                  และถือเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายของกลุ่มบริษัทผู้พัฒนาเมือง กล่าวถึงขั้นตอนการดำเนินงานว่า
 เป็นการพิจารณาจัดระเบียบวาระการตัดสินใจหรือการระบุทางเลือกที่ใช้ในการตัดสินใจ    เกิดจากการผลักดันของภาคทุนเอกชนทั้ง 7 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต ขอนแก่น พิษณุโลก เชียงใหม่
 ซึ่งมักถูกผลักดันผ่านผู้อยู่เบื้องหลังที่นำเสนอแนวทางเหล่านั้นให้แก่ผู้มีอำนาจตัดสินใจกำหนด  สมุทรสาคร สระบุรี และระยอง นำเสนอ “ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการบรรษัทพัฒนาเมือง
 นโยบาย เช่น นักวิชาการ กลุ่มผลประโยชน์ เทคโนแครต เป็นต้น ซึ่งทางเลือกเหล่านั้นปรากฏ  พ.ศ. ...” ต่อคณะอนุกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองผู้บริโภค และพิจารณาแล้วเสร็จ
 ในหลากหลายรูปแบบ เช่น การกำหนดนโยบาย การตรากฎหมาย เป็นต้น
                  ไปเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560)
 เมื่อกระแสปัญหา กระแสการเมือง และกระแสนโยบายมาบรรจบพร้อมกัน ก็จะเป็นที่มา  ผลการพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าว ถือว่ามีการรับหลักการและให้ปรับปรุงแก้ไข

 ของนโยบาย และถือเป็นโอกาสที่ทำให้หน้าต่างนโยบายเปิดออก (Policy Window) ดังภาพ
                  ร่างพระราชบัญญัติโดยเฉพาะในหมวดที่ 1 เรื่องเจตนารมณ์และเป้าหมาย เพื่อให้เป็นกฎหมาย
                  ในลักษณะของการส่งเสริมการพัฒนามากกว่าการมุ่งเน้นการควบคุม รวมถึงบริษัทจะต้องร่วม
 กระแสปัญหา            กระแสการเมือง           กระแสนโยบาย   ลงทุนกับภาครัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมือง ส่วนทุนจดทะเบียนบริษัทจากเดิมเสนอ
                  10 ล้านบาท ให้แก้ไขเป็น 100 ล้านบาท เนื่องจากงบประมาณสำหรับการก่อสร้างโครงสร้าง
                  พื้นฐานมีจำนวนมาก และผู้ถือหุ้นต้องมีหุ้นอย่างน้อย 20 หุ้นขึ้นไปด้วย (วิทยาลัยการปกครอง  บทความที่ผ่านการพิจารณา
                  ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560)
 หน้าต่างนโยบาย
 ที่มา Kingdon (2003)
   428   429   430   431   432   433   434   435   436   437   438