Page 437 - kpi21190
P. 437
437
ตลาด SME การสร้าง “Smart Learning (Brain Cloud)” เพื่อเพิ่มทักษะทางภาษา การเรียนรู้ โดยความคืบหน้าปัจจุบัน กำลังรอการตอบรับจากเทศบาลนครเชียงใหม่ ในการอุดหนุน
ตอบโต้เสมือนจริง Smart Pole จุดเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสาร เสาขยายสัญญาณ Wifi งบประมาณร่วมโครงการพัฒนาดังกล่าว เมื่อเดือนสิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา การประชุมของ
ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดอุบลฯ เพื่อตอบโจทย์สังคมดิจิตอล Smart Bus แก้ไขระบบขนส่งมวลชน คณะกรรมการได้มีการตกลงจัดทำแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นแม่บท
ให้สะดวกสบายลดปัญหารถติด โดยใช้แอพพลิเคชั่นเข้ามาเสริมเพื่อให้การใช้งานที่ง่ายขึ้น uUbon ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ในทิศทางเดียวกันของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเป็นแนวทาง
เป็นแอพพลิเคชั่นเพื่อคนอุบล ทั้งสถานที่ท่องเที่ยว ที่พัก ที่กิน และอื่นๆ uCubator เป็นที่ปรึกษา ในการของบประมาณจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในการดำเนินงานด้าน
ให้คำแนะนำแก่ธุรกิจ Startup หรือเป็นพี่เลี้ยงในการทำธุรกิจ เป็นต้น (วารีรักษ์ รักคำมูล และ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะและมุ่งเน้น “ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม” (นำพล
สุชัย เจริญมุขยนันท์, 2561) สุริยะเจริญ, 2562)
การกำหนดนโยบายดังกล่าวนี้ ทางประธานบริษัทพัฒนาเมืองหลีกเลี่ยงไม่ยอมรับเข้าร่วมกับ สรุปได้ว่า การผลักดันนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ของประเทศไทย
กลุ่มทุนชนชั้นนำเดิมในจังหวัด เพราะต้องการดำเนินการตามแนวทางใหม่ๆ ร่วมกับคนรุ่นใหม่ ที่ตั้งสมมติฐานการวิจัยไว้ว่า นโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะมาจากบทบาทภาคประชาชน แต่
และต้องการหาแนวร่วมสนับสนุนการพัฒนาเมืองที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หากแต่ภายในระยะ จากการศึกษาค้นคว้าได้พบบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ในจังหวัดนั้น ๆ อาทิ จังหวัดขอนแก่น
เวลาใกล้เคียงกันมีกลุ่มองค์กร ของจังหวัดอุบลราชธานีทั้ง 9 แห่ง ทำหน้าที่รวมตัวกันเพื่อ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ริเริ่มและผลักดันนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนจังหวัดอุบลราชธานี และมีโครงการพัฒนาเมืองจัดตั้งเป็น ด้วยเช่นกัน ซึ่งกลุ่มผลประโยชน์ได้อ้างถึงความต้องการของประชาชนที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
บริษัทเฉกเช่นเดียวกันกับกลุ่มแรกของนายศิวัช ภูธนแสงทอง ประธานกรรมการบริษัท ซึ่งกลุ่ม วิถีชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเป็นเมืองอัจฉริยะ ที่ชาวเมืองสามารถดำรงชีวิตบนพื้นฐานของ
องค์กรชนชั้นนำเหล่านั้น ประกอบด้วย สภาอุตสาหกรรม หอการค้า ชมรมธนาคาร บริษัท การเชื่อมโยงทุกอย่างเข้ากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สะดวกสบาย
ประชารัฐรักสามัคคีอุบลราชธานี สมาคมท่องเที่ยวจังหวัด กลุ่มบิสคลับ สภาทนายความจังหวัด มากขึ้นกว่าการดำรงชีวิตในอดีต การเดินทางในเมืองและการเดินทางไปทำงานสามารถเข้าถึง
สมาคมสื่อมวลชนอุบลราชธานี และ กลุ่ม NYC ใช้ชื่อกลุ่มว่า “กลุ่มขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การพยากรณ์ข้อมูลการเดินทางได้ล่วงหน้าเพื่อให้สอดคล้องกับการวางแผนการเดินทาง รวมถึง
9 องค์กร จ.อุบลราชธานี” (วารีรักษ์ รักคำมูล และสุชัย เจริญมุขยนันท์, 2561) การมีกลุ่ม การติดต่อกับหน่วยงานราชการที่การสืบค้นข้อมูลหรือการประสงค์จะใช้บริการอาจใช้ระบบ
ผลประโยชน์ที่คล้ายคลึงกันมาร่วมกันผลักดันนโยบายเมืองอัจฉริยะของจังหวัดอุบลราชธานี อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อรับบริการเหมือนในอดีต
ในที่สุดแล้วจะดำเนินไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่ ย่อมเป็นสิ่งที่รอการพิสูจน์ต่อในภายภาคหน้า
6. ข้อสังเกตความเหลื่อมล้ำด้านนโยบายการพัฒนา “เมืองอัจฉริยะ
ภาพรวมสถานการณ์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทย ในส่วนกรณี
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะของภูเก็ต สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลสนับสนุนงบประมาณเพื่อ (Smart City)” ในประเทศไทย
การวิจัยร่วมกับบริษัทซิตี้ เดต้า อนาไลติกส์ จก. (CDA) บริษัทในเครือภูเก็ตพัฒนาเมือง และ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อสร้างต้นแบบของการพัฒนา “City Data สำหรับประเด็นการทบทวน การแสดงความห่วงใย สู่การปรับปรุงแนวทางนโยบาย
Platform (CDP)” เป็นเมืองแรกของประเทศไทย ขณะนี้การวิจัยได้เข้าสู่ขั้นตอนสุดท้าย คือ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เป็นการตั้งข้อสังเกตความเหลื่อมล้ำด้านนโยบายนี้ต่อเมืองอัจฉริยะ
การได้ต้นแบบของระบบที่พร้อมจะนำเข้าสู่การใช้งานจริง เพื่อให้เกิดการใช้งานระบบ และ ซึ่งอาจช่วยเติมเต็มแนวทางการพัฒนาที่เกิดขึ้นอย่างหมาะสมมากยิ่งขึ้น และตอบสนองต่อ
รวบรวมข้อมูลเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์มากขึ้นโดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แล้วนำไปใช้ในการ ความต้องการของการพัฒนาเมืองอย่างร่วมสมัย รวมถึงการรองรับการขยายตัวในการพัฒนา
วางแผนบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาของเมือง 3 ด้าน คือ อสังหาริมทรัพย์ การท่องเที่ยวและ เมืองในอนาคตได้
ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม กำหนดเปิดให้บริการดูข้อมูลเพื่อทดลองใช้ ผ่านทางเว็บไซต์ แนวคิดการนำนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทยเป็นนโยบายการต่อยอดการพัฒนา
www.Phuket.Cloud ในช่วงเดือนมกราคม 2563 (ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, 2562) เมืองจากยุคสมัยเดิม มาสู่การขับเคลื่อนเมืองที่อยูบนฐานของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัย
ต่อมา การพัฒนาเมืองอัจฉริยะของเชียงใหม่นั้น จังหวัดเชียงใหม่ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน ใหม่มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย ซึ่งกำลังค่อยๆ เปลี่ยนผ่านจากสังคม
ขับเคลื่อนเชียงใหม่ (Smart city Project) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน เกษตรกรรมสู่สังคมแห่งความเป็นเมือง (urbanization) ซึ่งแนวคิดนี้ได้รับการขานรับที่ดีใน
คณะทำงานฯ ผู้แทนส่วนราชการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาคเอกชน เป็นคณะทำงาน ชื่อ ต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่ายิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้ว จึงทำให้แนวคิดนี้มีอิทธิพลแผ่ขยายไป บทความที่ผ่านการพิจารณา
โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเชียงใหม่เรียกว่า “สมาร์ทนิมมาน” (Smart Nimman) โดยมุ่งเน้น ทั่วโลก รวมถึงในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยด้วย การผลักดันเรื่องการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ประเด็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบนถนนนิมมานเหมินท์ ได้แก่ การนำสายไฟฟ้าและ เข้าสู่การกำหนดนโยบายของรัฐบาล แม้แนวคิดดังกล่าวจะอยู่ในกระแสความสนใจมานาน
สายสื่อสารลงดิน การวางท่อส่งน้ำประปาใหม่ การปรับปรุงทางเท้าและระบบไฟส่องสว่าง พอสมควร หากแต่การผลักดันให้เกิดนโยบายนี้ด้วยความเห็นพ้องต้องกันทั้งภาครัฐ