Page 442 - kpi21190
P. 442
442
เคยเกิดขึ้นกับประเทศในฝั่งตะวันตกได้ กลุ่มทุนที่ถือครองฐานข้อมูลย่อมสามารถใช้ประโยชน์ หลายๆประเทศทั้งในเอเชียและกลุ่มประเทศตะวันตก อนึ่งการเกิดขึ้นของนโยบายดังกล่าว
จากสิ่งที่ตนมี มาต่อยอดการออกแบบบริการหรือสร้างการตลาดที่ได้เปรียบเชิงแข่งขันเอาเปรียบ ในหลายๆ ประเทศมักเกิดจากการผลักดันของคนในเมืองหรือประเทศนั้นๆ เป็นสำคัญ เพราะ
คู่ต่อสู้ได้ แม้กระนั้นประชาชนที่ดูเหมือนจะได้ประโยชน์สูงสุดก็อาจไม่ได้เป็นเช่นนั้น ประสงค์จะให้นโยบายนี้เกิดขึ้นจริง ซึ่งในประเทศไทยการผลักดันนโยบายการพัฒนาเมือง
อัจฉริยะกลับเป็นไปในทิศทางตรงข้าม นั่นคือ การผลักดันนโยบายนี้มาจากกลุ่มชนชั้นนำท้องถิ่น
นอกจากนี้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในจีนถือเป็นตัวอย่างสำคัญที่สามารถเป็นบทเรียนที่สำคัญ และข้าราชการ มากกว่าเกิดจากการผลักดันของประชาชน
ต่อประเทศไทยในเรื่องของข้อมูลส่วนบุคคล นั่นคือ จีนมีการใช้ระบบคะแนนความน่าเชื่อถือทาง
สังคม (social credit) ที่ผูกโยงฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) เข้ากับการประเมินความประพฤติ ส่วนด้านข้อสังเกตประเด็นความเหลื่อมล้ำที่มีในนโยบายเมืองอัจฉริยะ แม้นโยบายจะมา
ของประชาชนในเมืองต่างๆ ครอบคลุมทั้งทางด้านพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ การก่อ จากแนวคิดที่สำคัญในอนาคต และเป็นนโยบายที่สอดรับความความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อาชญากรรม หรือแม้แต่การหลีกเลี่ยงหรืองดเว้นการจ่ายภาษีแก่มณฑลต่างๆ ซึ่งมีการประกาศ ในเมือง ทำให้เกิดความสะดวกสบายแก่ผู้คนก็ตาม แต่มีความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจแฝงอยู่
ใช้ครอบคลุมทุกมณฑลของจีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 หากประชาชนได้คะแนนต่ำก็จะได้ถูกตัด ไม่เพียงแค่นั้นนโยบายนี้อาจสร้างความเหลื่อมล้ำที่เข้าไปสัมพันธ์กับมิติทางสังคมและการเมือง
สวัสดิการที่พึงได้รับจากรัฐ ในขณะที่ผู้ที่มีคะแนนสูงก็จะได้รับส่วนลดจากการใช้บริการจาก เช่นประเด็นคนจนกับนโยบายของรัฐ โดยคนกลุ่มนี้ได้รับผลกระทบจากเหลื่อมล้ำ ทั้งในมิติ
ภาครัฐ ทิศทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของมณฑลจึงอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐบาลจีน ด้านรายได้ ด้านสิทธิ ด้านโอกาส ด้านอำนาจและด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งทุกด้าน
อย่างใกล้ชิด และการขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะในจีนก็หลีกเลี่ยงมิได้ที่จะไม่ดำเนินการตามนโนบาย ย่อมเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน กล่าวคือนโยบายเมืองอัจฉริยะที่ด้านหนึ่งอาจนำไปสู่ความเหลื่อมล้ำ
ดังกล่าว หากย้อนกลับมาพิจารณาในประเทศไทยย่อมเป็นสิ่งที่ต้องขบคิดและมองผลกระทบ อย่างสาหัสในเมืองมากกว่าเดิม
ที่อาจเกิดขึ้น หากจะนำระบบดังกล่าวมาใช้ควบคู่ไปกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Karoonporn
Chetpayark, 2561) ท้ายที่สุดสำหรับข้อสังเกตที่กลุ่มคนได้ประโยชน์จากนโยบายเมืองอัจฉริยะอาจจะไปกระจุกตัว
เป็นเพียงแค่คนกลุ่มน้อย ผลประโยชน์ไม่ได้ไปถึงกับคนในวงกว้างที่อยู่ในเมือง อาจเป็นแค่เพียง
ในท้ายสุดผู้เขียนต้องการชี้ให้เห็นถึงข้อสังเกตหลักใหญ่เรื่องความเหลื่อมล้ำที่มีในนโยบาย กลุ่มทุนท้องถิ่น กลุ่มธุรกิจระดับกลางถึงระดับใหญ่ขึ้นไป กลุ่มโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
เมืองอัจฉริยะ แม้นโยบายเมืองอัจฉริยะนี้จะเป็นนโยบายที่สอดรับความความเจริญเติบโตทาง ทั้งยังสะท้อนมาการจัดการทางปกครอง นโยบายเมืองอัจฉริยะในขั้นตอนการพัฒนานโยบายสร้าง
เศรษฐกิจในพื้นที่ทำให้เกิดความสะดวกสบายแก่ผู้คนก็ตาม แต่มีความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ขึ้นดูเหมือนว่ามีการแสวงหาการมีส่วนร่วมจากคนในเมืองและมีความโปร่งใส แต่มีลักษณะ
แฝงอยู่ ไม่เพียงแค่นั้นนโยบายนี้อาจสร้างความเหลื่อมล้ำที่เข้าไปสัมพันธ์กับมิติทางสังคมและ การตัดสินใจแบบบนลงล่าง (top-down) มีฐานคิดคือการหวังเพื่อขยายความเจริญเติบโตทาง
การเมือง เช่นประเด็นคนจนกับนโยบายของรัฐ โดยคนกลุ่มนี้ได้รับผลกระทบจากเหลื่อมล้ำ เศรษฐกิจและขยายผลประโยชน์ในเชิงพื้นที่เพียงเท่านั้น
ทั้งในมิติด้านรายได้ ด้านสิทธิ ด้านโอกาส ด้านอำนาจและด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งทุก
ด้านย่อมมีความเชื่อมโยง อันเป็นข้อสังเกตสำหรับนโยบายเมืองอัจฉริยะที่ด้านหนึ่งอาจนำไปสู่ 8. ข้อเสนอแนะ
ความเหลื่อมล้ำอย่างสาหัสในเมืองกว่าเดิมด้วยนโยบายที่หวังดี แต่ผลอาจไม่ได้เป็นไปอย่างที่
ประสงค์ไว้ และผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อสังเกตที่เสนอมาสำหรับนโยบายพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 1. การเข้ามามีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ในเมืองที่มาจากผู้มีส่วนได้เสียหลากหลาย ชนชั้น
ที่ในอนาคตจะสามารถตอบโจทย์ทุกฝ่ายได้ และเข้าไปเป็นคณะกรรมการ ไม่ใช่เพียงการนั่งฟังและเสนอความคิดเห็นเท่านั้น โดยเฉพาะ
กลุ่มเป้าหมายคนจนเมือง คนด้อยโอกาสในสังคม ด้วยสาเหตุการวางนโยบายและการนำนโยบาย
7. บทสรุป เมืองอัจฉริยะไปปฏิบัติอาจมองข้ามหัวผู้คน วางแผนแบบบังคับตลอด ดังนั้นจึงเสนอให้มีส่วนร่วม
เพราะการพัฒนาเมืองด้วยนโยบายเมืองอัจฉริยะ ความเป็นอยู่ของผู้คนที่หลากหลายต้องมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย
ประเด็นคำถามทั้งสองข้อ คือหนึ่งใครเป็นผู้มีบทบาทหรืออิทธิพลในการผลักดันนโยบาย
บทความที่ผ่านการพิจารณา การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ในจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย และสองข้อสังเกตความ จากการพัฒนานโยบายเมืองอัจฉริยะ ทั้งมีมโนทัศน์ที่เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์มากกว่ามูลค่า
2. การสร้างพื้นที่ต่อรองและต่อสู้เพื่อพัฒนาเมืองร่วมกันของชุมชนที่ได้รับผลกระทบ
เหลื่อมล้ำด้านนโยบายการพัฒนา “เมืองอัจฉริยะ (Smart City)” ในประเทศไทยเป็นอย่างไร
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประเด็นนี้ควรนำมาเป็นประเด็นต่อรองที่สำคัญต่อการกำหนด
ความเป็นเมืองได้เป็นประเด็นหลักสำหรับการพัฒนาเมือง มาจากประชากรโลกกว่าร้อยละ
และนำนโยบายเมืองอัจฉริยะไปปฏิบัติ
55 อาศัยอยู่ในเขตเมือง และแนวโน้มประชากรจะเข้ามาอาศัยในเขตเมืองมากขึ้น การขับเคลื่อน
เมือง (City) และการพัฒนาเมืองสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อตอบสนอง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นแนวคิดการพัฒนาที่เกิดขึ้นใน