Page 439 - kpi21190
P. 439
439
ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน ก็ถือได้ว่าเป็นนโยบายที่พร้อมตอบรับกับความต้องการคนทุกฝ่าย เพราะเชื่อว่าการพัฒนาของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมาจากส่วนกลาง แต่คนที่รู้จักปัญหาที่สุดคือ
ความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ริเริ่มในสมัยรัฐบาล คนในท้องถิ่น ซึ่งในต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว ส่วนใหญ่การพัฒนาพื้นที่เหล่านี้ก็มาจากท้องถิ่น
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา จึงอาจสานต่อความสำเร็จจากขอนแก่น ภูเก็ต เชียงใหม่ และ จึงมีความคิดอยากให้คนในท้องถิ่นสามารถยืนได้ด้วยตัวเอง และเป็นการลดภาระการสนับสนุน
อาจสานต่อสู่ความสำเร็จของเมืองอัจฉริยะเมืองอื่นๆ ในประเทศไทยได้อีกด้วย และช่วยเหลือต่างๆ จากส่วนกลาง อันเป็นที่มาของกลุ่มพัฒนาเมือง (กมลพงษ์ สงวนตระกูล
สัมภาษณ์, 2562) กลุ่มทุนท้องถิ่นและชนชั้นนำในท้องถิ่นเป็นกลุ่มแรกที่เห็นถึงความสำคัญของ
6.1 ความเหลื่อมล้ำการเลือกพื้นที่เฉพาะเมืองสำคัญในภูมิภาค
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ไม่ได้มีภาคส่วนต่างๆ เข้ามาทำงานร่วมกัน แต่ต่อมาเมื่อต้องการให้
แม้นโยบายนี้จะได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาล มีการวางแนวนโยบายลงในพื้นที่เมืองใหญ่ พื้นที่พัฒนาโครงการเมืองอัจฉริยะด้วยการทำงานร่วมกับท้องถิ่น ส่วนจังหวัด องค์กรการศึกษา
เป็นจังหวัดนำร่อง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร บริเวณศูนย์กลางคมนาคมขนส่งบางซื่อ รวมถึง มหาวิทยาลัยต่างในจังหวัด การจัดตั้งบริษัทฯ ขึ้นมาก็เพื่อให้เราได้ทำหน้าที่ขับเคลื่อนในส่วนของ
ภูเก็ต, เชียงใหม่, ขอนแก่น, ชลบุรี, ระยอง พิจารณาจากหลักเกณฑ์คัดเลือกจะดูที่ความพร้อม การค้นคว้า หาข้อมูล หรือวิธีการทำงานร่วมกับทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด
ของจังหวัดและการเข้ามาร่วมทำงานของภาคเอกชน หากแต่ในจังหวัดเมืองรองของไทยกลับมิได้มี รวมไปถึงการที่จะหาข้อมูลมาสนับสนุน การประชุมร่วมกัน ทุกอย่างต้องดำเนินการโดยผ่าน
การส่งเสริมให้เกิดเมืองอัจฉริยะอย่างเป็นรูปธรรม เช่น กรณีของจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่มีความ ผู้ว่าราชการจังหวัด และทุกโครงการจะมีการทำงานร่วมกัน (กังวาน เหล่าวิโรจนกุล สัมภาษณ์,
ก้าวหน้ามากที่สุดมีการลงทุนจากภาคเอกชนด้านออนไลน์และจีพีเอสเพื่อการป้องกันการทิ้งขยะ 2562) นับว่าเป็นตัวแบบที่ดีที่ดึงทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการเมืองอัจฉริยะ
ในเขตเทศบาล มีภาคเอกชนท้องถิ่นได้รวมตัวกันจัดตั้ง บริษัทภูเก็ตพัฒนาเมืองจำกัด ช่วยพัฒนา
เมืองภูเก็ต จัดการจราจรแก้ปัญหารถติด เป็นต้น ความพร้อมแบบนี้เมืองรองในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามในการขยายไปในจังหวัดอื่นๆ เป็นการจัดขึ้นโดยสำนักงานส่งเสริม
ไม่สามารถที่ตอบสนองได้อย่างเช่นเมืองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวอย่างเมืองภูเก็ต เศรษฐกิจดิจิทัล(Depa) ให้ดำเนินการผ่านหน่วยงานราชการ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงมหาดไทย มีการวางยุทธศาสตร์จากส่วนกลาง อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจ
เรามักมีสมมติฐานกันว่า การผลักดันนโยบายนี้เกิดจากความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และทักษะการพัฒนาจังหวัดตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการเมืองอัจฉริยะ กำหนดกลุ่มผู้ที่จะ
ที่ต้องการเห็นจังหวัดมีการพัฒนาอย่างครบวงจร จึงเกิดการรวมตัวและลงทุนเปิดบริษัทพัฒนา สมัครเข้ามามีส่วนร่วม ส่วนใหญ่หน่วยงานที่เป็นนิติบุคคล ในส่วนภาคประชาสังคมหรือ
เมืองตามจังหวัดต่างๆ เพื่อนำงบประมาณเหล่านี้ที่มีมาสนับสนุนการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ภาคประชาชน จะเป็นกลุ่มนิติบุคคลเช่นกัน เช่น หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรม สภาท่องเที่ยว
ในการพัฒนาเมือง หากแต่ในทางปฏิบัติจริง ประชาชนในพื้นที่ไม่ได้มีงบประมาณสนับสนุนมาก (สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในระบบราชาการ (สปร.), 2562, หน้า 6) ส่วนกลุ่ม
เพียงพอ ประชาชนต้องการไม่ใช่เพียงการพัฒนาเมืองให้เมืองอัจฉริยะ แต่ที่แท้จริงพวกเขา ผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องก็เป็นการกำหนดในภาพกว้างเท่านั้น ไม่ได้ชัดเจน ไม่ได้กว้างขวางมากพอ
ต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตในแต่ละวัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นคุณสมบัติที่เมือง สำหรับคนเมืองที่เป็นการขยายนโยบายพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดอื่นๆ ไม่ได้สร้างความรับรู้และ
ดังกล่าวจะตอบสนองความต้องการของพวกเขาได้ นั้นย่อมส่งผลให้เกิดการรวมตัวกันของกลุ่มทุน เข้าถึงข้อมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็นมากพอสำหรับจังหวัดต่างๆ เป็นเพียงแค่การจัดงานสัมมนา
และชนชั้นนำในท้องถิ่นในฐานะกลุ่มผลประโยชน์ (interest group) ผู้ผลักดันให้มีการเกิดการ เชิงปฏิบัติการ “Smart City Thailand Roadshow” ในจังหวัดต่างๆ ของสำนักงานส่งเสริม
กำหนดนโยบายเมืองอัจฉริยะในจังหวัด กลุ่มบุคคลเหล่านี้มีความใกล้ชิดสัมพันธ์กันทั้งด้าน เศรษฐกิจดิจิทัลเท่านั้น ซึ่งกลุ่มที่เข้าร่วมยังเป็นกลุ่มทุน ชนชั้นนำท้องถิ่น และกลุ่มหน่วยงาน
ภูมิหลังทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ทำใหเกิดการรวมตัวกันได้ง่าย ประกอบกับการลงทุน นิติบุคคลเช่นเดิม ไม่ได้มีความหลากหลายจากภาคประชาสังคมหรือภาคประชาชนมากนัก
ก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมืองตามจังหวัดต่าง ๆ จำเป็นใช้งบประมาณลงทุนสูงมาก ผลท้ายที่สุดเป็น
แรงกดดันสำคัญให้ประชาชนธรรมดาขาดอำนาจต่อรอง แล้วภาคประชาชนไม่สามารถเข้ามามี นอกจากนี้นโยบายเมืองอัจฉริยะขับเคลื่อนเทคโนโลยีดิจิทัล กล่าวคือ ในการพัฒนาเมือง
ส่วนร่วมผลักดันการกำหนดนโยบายนี้ได้ หากเราสามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาร่วมทำ อัจฉริยะหรือสมาร์ทซิตี้ การวางโครงสร้างระบบไอทีที่ทันสมัย โดยเฉพาะระบบ 5 จี เป็นเรื่อง
ประชาคมเพื่อหารือแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะมากขึ้น ก็ย่อมทำให้แนวทางการพัฒนาเมือง ที่สำคัญ เพราะระบบดิจิทัลต่างจะต้องสื่อสารส่งผ่านข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากทำให้อุปกรณ์ไอที
อัจฉริยะมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เชื่อมโยงกันได้หลายล้านชิ้น ทำให้อุปกรณ์ต่างๆ ใช้พลังงานลดลงสามารถติดตั้งเซ็นเซอร์ต่างๆ
ได้มากขึ้น เช่น การนำรถยนต์อัจฉริยะที่ขับเคลื่อนได้เองเข้ามาใช้ในพื้นที่ จำเป็นจะต้องมีระบบ
6.2 นโยบายเมืองอัจฉริยะกับความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงปัจจัยการผลิต 5 จี เข้ามารองรับ ดังนั้นการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิตอลจึงเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานของคนเมือง
นโยบายเมืองอัจฉริยะทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงปัจจัยการผลิต จากการรวมกัน ทุกคนย่อมมีโอกาสเข้าถึงไม่เท่าเทียมกันทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สอดคล้องกับรายงาน บทความที่ผ่านการพิจารณา
จัดตั้งบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง และบริษัทภูเก็ตพัฒนาเมือง โดยเฉพาะบริษัทแห่งแรกคือ ความเหลื่อมล้ำของเมืองที่ชี้ว่ายิ่งก้าวหน้าขึ้นมากเท่าไหร่ ความเหลื่อมล้ำจะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
บริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง จำกัด (KKTT) เป็นการรวมตัวที่ตั้งต้นจากบริษัทในพื้นที่จังหวัด เพราะข้อมูลและแอปพลิเคชันใหม่ต้องการอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วสูงมากขึ้น ดังนั้น การเข้าถึง
ขอนแก่นร่วมกันกว่า 20 บริษัท มีจุดประสงค์ส่งต่อเมืองขอนแก่นที่มีการพัฒนาแก่รุ่นต่อไป อินเทอร์เน็ตอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ แต่ต้องมีการยกระดับเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลาด้วย
(ฐิติวัฒน์ นงนุช และณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์, 2560)