Page 440 - kpi21190
P. 440

440



                    นอกจากนี้ความเหลื่อมล้ำและความยากจนในเมืองที่มีอยู่เดิมในพื้นที่การพัฒนาเมือง                         กับบริบทต่างๆ ของเมือง เช่น สิ่งของ ผู้คน ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และความสัมพันธ์ระหว่างกัน
               อัจฉริยะ นโยบายนี้สร้างการเข้าถึงของคนกลุ่มนี้ได้มากน้อยแค่ไหน เพราะโครงการนี้เน้นความ                     การที่ทำให้เมืองอัจฉริยะไปได้ดี การตั้งเป้าหมายคือเริ่มต้นไปมองปัญหาของเมืองและทาง
               สะดวกสะบายในการใช้ชีวิตของคน แต่คนกลุ่มนี้ต้องการเปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่ สุขภาวะและ                        แก้ปัญหาของเมืองให้ชัดเจน (Hebe Verrest and Karikn Pfeffer, 2019)
               ชีวิตพวกเขาให้ดีขึ้น ที่ต้องเริ่มด้วยการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาจากหลายภาคส่วน นโยบายเช่นนี้
               จึงไม่ค่อยที่จะตอบโจทย์ความเป็นไปของชีวิตและแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ แต่กลับเป็นการกั้น                           ข้อสังเกตที่ต่อเนื่องจากที่กล่าวมา กลุ่มคนได้ประโยชน์จากนโยบายเมืองอัจฉริยะอาจจะไป

               คนเมืองกลุ่มนี้ให้ออกไปจากพื้นที่มากขึ้นในอนาคต เพราะคนจนเมืองไม่ได้มีพลังที่จะไปต่อรอง                    กระจุกตัว แค่คนกลุ่มน้อย ผลประโยชน์ไม่ได้ไปถึงกับคนในวงกว้างที่อยู่ในเมือง อาจเป็นแค่กลุ่ม
               ในการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ ในเมืองด้วย สรุปคือกลุ่มคนจนเมืองอาจจะมีความเหลื่อมล้ำ                      ทุนท้องถิ่น กลุ่มธุรกิจระดับกลางถึงระดับใหญ่ขึ้นไป กลุ่มโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งยัง
               ทางโอกาสในการเข้าถึงบริการสาธารณะที่เกิดจากนโยบายเมืองอัจฉริยะ และการจัดสรร                                สะท้อนมาการจัดการทางปกครอง นโยบายเมืองอัจฉริยะในขั้นตอนการพัฒนานโยบาย ดูเหมือนว่า
               ทรัพยากรในโครงการอาจจะคิดถึงคนกลุ่มนี้มากยิ่งขึ้น                                                          มีการแสวงหาการมีส่วนร่วมจากคนในเมืองและมีความโปร่งใส แต่มีลักษณะการตัดสินใจแบบ
                                                                                                                          บนลงล่าง (top-down) มีฐานคิดในการหวังเพื่อขยายความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและขยาย
               6.3 นโยบายเมืองอัจฉริยะกับความเหลื่อมล้ำด้านอำนาจและการเมืองในการเข้าถึง                                   ผลประโยชน์ในเชิงพื้นที่ ไม่ได้สนใจแรงผลักดันทางการเมืองแรงกดดันของภาคประชาสังคมและ

               การบริหารจัดการเมือง                                                                                       ความโปร่งใส่ของกระบวนการ (Tan Yigitcanlar, 2015) และขาดการมีส่วนร่วมและผนึกกำลัง

                    ประเด็นที่สืบเนื่องมาจากผลประโยชน์อาจเป็นการรวมกลุ่มกันระหว่างกลุ่มนายทุนท้องถิ่น                     กันเพื่อตัดสินใจเชิงนโยบายไปสู่การปฏิบัติได้ ปัจจัยที่เป็นผลสำเร็จที่ควรตั้งคำถามกับการพัฒนา
               และนักการเมืองท้องถิ่น ในการจัดตั้งบริษัทการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ก็อาจเป็นแต่เพียงการแสดง                    เมืองเช่นนี้ คือความไว้วางใจและสนับสนุนของคนในเมืองซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญมากสำหรับความ
               บทบาทที่ต้องการเอื้อประโยชน์ด้านมูลค่าที่เพิ่มสูงขึ้นของที่ดิน โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์                 สำเร็จของเมืองอัจฉริยะ(Yigiticanda T. and S. Lee, 2014) แล้วจำเป็นต้องอาศัยความมี
               ของกลุ่มเท่านั้น ไม่ใช่เพื่อหวังให้มีการพัฒนาเมืองเพื่อตอบประโยชน์ต่อคนเมืองอย่างแท้จริง                   เสถียรภาพทางการเมืองจึงทำให้เมืองอัจฉริยะประสบผลสำเร็จ
               และเมื่อพิจารณาจังหวัดต่างๆ ที่นำเอาตัวแบบไปเป็นต้นคิดในการนำนโยบายไปปฏิบัติ                               6.4 นโยบายเมืองอัจฉริยะกับความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการสาธารณะและ
               มีข้อจำกัดทางงบประมาณที่จำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก รัฐบาลจะเป็นผู้สนับสนุนงบ                            การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

               ประมาณได้มากน้อยเพียงไร หรือไม่อาจสนับสนุนงบประมาณเลย เพราะเป็นการจัดสรร
               งบประมาณจำนวนมาก แล้วความเป็นไปได้ของทุนธุรกิจและนักการเมืองท้องถิ่นจะมีศักยภาพ                                 กรณีเมืองอัจฉริยะในประเด็นเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการสาธารณะและ
               ในการระดมทุนจำนวนมหาศาลได้มากน้อยเพียงใด อีกอย่างการชี้นำการเชิญชวนการลงทุนจาก                             การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เมื่อมีการประกาศว่าจังหวัดใดจะนำโครงการนี้ลงสู่การปฏิบัติ
               ประเทศจีน การคิดแบบนี้ดูเหมือนเป็นการขายฝัน แต่การขายฝันเช่นนี้ กลับสร้างมูลค่าของที่ดิน                   ในพื้นที่จะเห็นได้จากการบรรจุเรื่องนี้ลงในแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนาองค์กรปกครอง
               หรือโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้คนในเมืองก็ย่อมไม่ได้รับประโยชน์อย่างใดจากนโยบาย                        ส่วนท้องถิ่น เมื่อความต้องการพัฒนาพื้นที่ถูกกำหนดเป็นวาระสำคัญในการขับเคลื่อนเมือง
                                                                                                                          อาจทำให้การจัดทำบริการสาธารณะแบบเดิมที่รัฐเคยทำแต่ผู้เดียวโดยไม่มีคู่แข่ง อาจจะทำให้

                    ประการต่อมาคือ แม้นโยบายเมืองอัจฉริยะจะนำไปสู่การปฏิบัติประสบผลสำเร็จ แต่เมือง                        ภาคเอกชนเสนอตัวเข้ามาจัดทำบริการสาธารณะเฉกเช่นเดียวกับภาครัฐมากขึ้น
               มีลักษณะที่หลากหลาย ทั้งที่เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งงาน สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ราชการ
               การเป็นย่านการค้าอุตสาหกรรม มีผู้มีส่วนได้เสียในเมืองมีความหลากหลาย โดยเฉพาะคนจน                                แม้จะทำให้ประชาชนสามารถเลือกใช้บริการที่หลากหลายได้มากขึ้น หากแต่ค่าบริการ
               เมืองจะได้รับประโยชน์มากน้อยแค่ไหน โดยข้อเท็จจริงการกำหนดการใช้ประโยชน์จากพื้นที่เมือง                     ในการเข้าถึงสิ่งเหล่านั้นควรเป็นไปในทิศทางใด เพราะแม้เริ่มต้นของการนำบริการมาสู่คนเมือง
               การนำเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาใช้มักนำไปสู่ความขัดแย้งในพื้นที่ระหว่างชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มทุน                 อาจมีราคาที่ไม่สูงมาก แต่เมื่อเวลาผ่านไปหากขาดมาตรฐาน กฎหมาย หรือหน่วยงานที่เข้ามา

               ของรัฐในหลายกรณี เช่น การก่อสร้างที่ต้องเวนคืนที่ดิน การสูญเสียพื้นที่ทำมาหากินในเมืองของ                  กำกับดูแล ก็อาจทำให้ประชาชนไม่มีทุนทรัพย์มากพอที่จะเข้าถึงบริการเหล่านั้นที่อาจปรับตัวสูง
                                                                                                                          ขึ้น หรืออาจเข้าถึงได้ แต่จะทำให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเหมาะสมกับค่าใช้จ่ายหรือไม่ เช่น
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   วางแผนหรือได้รับการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนมากเพียงพอสำหรับการตัดสินใจ ตรงกันข้าม      ที่เกิดขึ้นในเมืองอัจฉริยะอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอาจเชื่อมโยงกันจนนำไปสู่การผูกขาดของ
               พ่อค้าแม่ค้า เป็นต้น ด้วยเหตุผลการไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการ
                                                                                                                          บริการขนส่งทางราง แท็กซี่แบบสมาร์ท เป็นต้น ส่วนข้อกังวลที่จะตามมา คือ บริการสาธารณะ
               กับกลุ่มทุนและการเมืองระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติให้ความสำคัญการการจัดการเมืองอัจฉริยะ
                                                                                                                          กลุ่มทุน และอาจทำให้ประชากรที่มีรายได้น้อยมิอาจพัฒนาบริการเข้าสู้กับทุนขนาดใหญ่ได้
               เพื่อส่งเสริมรองรับการลงทุนทางเศรษฐกิจมากกว่าการตระหนักถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ
                                                                                                                          จนอาจทำให้สูญเสียรายได้และต้องเลิกล้มการประกอบอาชีพนั้น นอกจากนี้การสมัครใช้บริการ
               สิ่งแวดล้อมในเมือง ทั้งนี้นโยบายเมืองอัจฉริยะ ตั้งอยู่บนฐานของการขยายตัวของความเป็นเมือง
               ที่เพิ่มขึ้น ในศตวรรษนี้ จำเป็นอย่างมากที่ต้องไปด้วยกันกับชีวิตคนเมือง และไปด้วยกันกับความ
                                                                                                                          สารสนเทศที่เชื่อมฐานข้อมูลที่ให้บริการเข้าด้วยกันย่อมทำให้อาจเกิดการซื้อขายข้อมูลเหมือนดังที่
               เป็นทุนนิยมของเมือง การคิดนโยบายเราไม่ควรละเลยเรื่องนี้ เพราะเมืองอัจฉริยะมีความสัมพันธ์                   ของเมืองอาจนำมาสู่การรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลได้ เนื่องจากการใช้ระบบเทคโนโลยี
   435   436   437   438   439   440   441   442   443   444   445