Page 432 - kpi21190
P. 432
432
4. แนวคิดการกำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในประเทศไทย 5. วิเคราะห์ อภิปรายตามนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
การก่อตัวและการกำหนดนโยบายสาธารณะของหลาย ๆ ประเทศรวมถึงไทย ส่วนใหญ่ สภาพปัญหาของเมืองแบบเดิมๆ ที่เกิดขึ้นตามจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย ไม่อาจ
มาจากสภาพความรุนแรงของปัญหานั้นๆ หรือการมองเห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องผลักดัน ตอบสนองต่อสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วปัจจุบัน ทำให้ตัวแสดงต่างๆ ต้องเข้ามา
นโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่กำลังเกิดขึ้น นอกจากนี้การได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนหรือ มีบทบาทนำในการสร้างวาระนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขึ้นมา ซึ่งมักปรากฏในลักษณะของ
ภาครัฐบาล จะทำให้นโยบายเหล่านั้นมีโอกาสเข้าสู่วาระนโยบายและผลักดันสู่การปฏิบัติจริงได้ การเรียกร้องของคนในพื้นที่หรือกลุ่มทุนท้องถิ่นที่มีศักยภาพในการพร้อมพัฒนาเมือง เมื่อปัญหา
โดยแนวคิดการก่อตัวของนโยบายที่มาจากการบรรจบกันของทั้ง 3 กระแสของ Kingdon เริ่มชัดเจนก็ย่อมส่งผลต่อการสร้างสถาบันเพื่อแก้ไขปัญหา และการวางแผนการใช้จ่าย
(Kingdon, 2003; นพดล อุดมวิศวกุล, 2560) ดังนี้ งบประมาณเพื่อนำมาแก้ปัญหาเหล่านี้
4.1 กระแสปัญหา (Problem Stream) การพัฒนาเมืองอัจฉริยะแม้จะได้รับความสนใจจากภาครัฐบาลมาก หากแต่ขาดการ
เป็นการพิจารณาความสนใจต่อปัญหาของประชาชน และความสนใจต่อปัญหาเหล่านั้น ขับเคลื่อนอย่างจริงจัง ทำให้หลายๆ พื้นที่ตัวแสดงนำกลับเป็นกลุ่มทุนท้องถิ่นหรือภาคประชาชน
ในทัศนะของรัฐบาลในช่วงเวลานั้นๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเองก็มีมากมาย แต่มิใช่ ในภาพความเป็นจริง การผลักดันนโยบายนี้ให้เกิดขึ้น มักมีการนำเสนอในมิติของการตอบสนอง
ทุกปัญหาจะถูกหยิบยกขึ้นมาแก้ไขและอาจถูกเพิกเฉย เราจึงมักได้รับทราบข่าวการสำรวจ ต่อการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่และการเรียกร้องมักเกิดจากความต้องการของคนใน
ความคิดเห็นของประชาชนผ่านสำนักโพลอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแบบสำรวจเกี่ยวกับปัญหาของประชาชน จังหวัดนั้นๆ อย่างแท้จริง หากแต่นั่นเป็นเพียงข้ออ้างเพื่อความสมเหตุสมผลประการหนึ่งเท่านั้น
มักได้รับความสนใจและถูกพูดถึงเมื่อเข้าสู่ช่วงใกล้การเลือกตั้ง การก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมืองในหลายจังหวัด ถือเป็นการรวมเอากลุ่มทุนทั้งในระดับท้องถิ่น
4.2 กระแสการเมือง (Political Stream) และในระดับชาติเข้ามามีส่วนสำคัญในการผลักดันนโยบายเมืองอัจฉริยะให้เกิดขึ้นอย่างเป็น
รูปธรรม ด้วยการจัดตั้งบริษัทที่จำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก ทำให้ภาคประชาชน
เป็นการพิจารณาปัญหาต่างๆ ในสังคมที่มีอยู่แล้ว และฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายการเมือง หรือฝ่ายที่ แทบไม่มีโอกาสเข้าไปถือหุ้นหรือมีส่วนสนับสนุนมากสมดังคำกล่าวอ้าง ประกอบกับการสร้าง
มีอำนาจตัดสินใจกำหนดนโยบายสาธารณะนี้ จะนำปัญหาที่มีอยู่เหล่านั้นเข้ามาสู่กระบวนการ เครือข่ายของกลุ่มผู้ก่อตั้งบริษัทพัฒนาเมืองที่รวมเอาหลาย ๆ บริษัทเข้ามาด้วยกัน ย่อมส่งผลให้
แก้ไขหรือไม่ ซึ่งมักเกิดจากการต่อรองระหว่างฝ่ายกำหนดนโยบายและกลุ่มผลประโยชน์ในสังคม เกิดการผลักดัน ส่งเสริม หรือสนับสนุนให้นโยบายนี้เกิดขึ้นได้ ดังจะเห็นได้จากในปี 2560
เช่น กลุ่มทุนท้องถิ่น นักธุรกิจ นักการเมือง สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น กลุ่มทุนเหล่านี้ยื่นข้อเสนอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติตรากฎหมายส่งเสริมกิจการบรรษัทพัฒนา
4.3 กระแสนโยบาย (Policy Stream) เมือง ซึ่งจากการให้สัมภาษณ์ของนายฐาปนา บุณยประวิตร อุปนายกสมาคมการผังเมืองไทย
และถือเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายของกลุ่มบริษัทผู้พัฒนาเมือง กล่าวถึงขั้นตอนการดำเนินงานว่า
เป็นการพิจารณาจัดระเบียบวาระการตัดสินใจหรือการระบุทางเลือกที่ใช้ในการตัดสินใจ เกิดจากการผลักดันของภาคทุนเอกชนทั้ง 7 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต ขอนแก่น พิษณุโลก เชียงใหม่
ซึ่งมักถูกผลักดันผ่านผู้อยู่เบื้องหลังที่นำเสนอแนวทางเหล่านั้นให้แก่ผู้มีอำนาจตัดสินใจกำหนด สมุทรสาคร สระบุรี และระยอง นำเสนอ “ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการบรรษัทพัฒนาเมือง
นโยบาย เช่น นักวิชาการ กลุ่มผลประโยชน์ เทคโนแครต เป็นต้น ซึ่งทางเลือกเหล่านั้นปรากฏ พ.ศ. ...” ต่อคณะอนุกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองผู้บริโภค และพิจารณาแล้วเสร็จ
ในหลากหลายรูปแบบ เช่น การกำหนดนโยบาย การตรากฎหมาย เป็นต้น
ไปเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560)
เมื่อกระแสปัญหา กระแสการเมือง และกระแสนโยบายมาบรรจบพร้อมกัน ก็จะเป็นที่มา ผลการพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าว ถือว่ามีการรับหลักการและให้ปรับปรุงแก้ไข
ของนโยบาย และถือเป็นโอกาสที่ทำให้หน้าต่างนโยบายเปิดออก (Policy Window) ดังภาพ ร่างพระราชบัญญัติโดยเฉพาะในหมวดที่ 1 เรื่องเจตนารมณ์และเป้าหมาย เพื่อให้เป็นกฎหมาย
บทความที่ผ่านการพิจารณา กระแสปัญหา กระแสการเมือง กระแสนโยบาย ลงทุนกับภาครัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมือง ส่วนทุนจดทะเบียนบริษัทจากเดิมเสนอ
ในลักษณะของการส่งเสริมการพัฒนามากกว่าการมุ่งเน้นการควบคุม รวมถึงบริษัทจะต้องร่วม
10 ล้านบาท ให้แก้ไขเป็น 100 ล้านบาท เนื่องจากงบประมาณสำหรับการก่อสร้างโครงสร้าง
พื้นฐานมีจำนวนมาก และผู้ถือหุ้นต้องมีหุ้นอย่างน้อย 20 หุ้นขึ้นไปด้วย (วิทยาลัยการปกครอง
ที่มา Kingdon (2003) หน้าต่างนโยบาย ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560)