Page 393 - kpi21190
P. 393

393



 ของข้าราชการก็มักเอื้อประโยชน์ หรือให้ความสำคัญกับคดีความของผู้มีอำนาจมากกว่าคดีความ  เท่าเทียมกัน แต่ทั้งนี้ต้องมีองค์กรและสถาบันต่างๆ ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดวัฒนธรรมทาง
 ของประชาชนทั่วไป อันเป็นค่านิยมที่ข้าราชการจำนวนมากมีแนวโน้มสนใจที่จะรับใช้ผู้ใหญ่    การเมืองให้แก่ผู้คนในสังคม อันได้แก่ ครอบครัว ชุมชน สถาบันทางการศึกษาทุกระดับ สถาบัน
 จึงทำให้ประชาชนผู้มีรายได้น้อยขาดที่พึ่งและมักเสียเปรียบให้กับผู้มีอำนาจอยู่เสมอ อันเป็นบ่อเกิด  ศาสนา องค์กรภาคประชาสังคม สื่อมวลชน สถานที่ทำงาน หน่วยงานของรัฐบาล ผู้นำชุมชน
 ของความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยขึ้น    และผู้นำทางการเมืองที่เป็นแบบอย่างที่ดี ที่จะต้องเข้ามามีส่วนช่วยในการทำหน้าที่ปลูกฝัง
                  “วัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมือง” พร้อมด้วยการสร้าง “จิตสำนึกแบบพลเมือง” (Civic
    3.4  วัฒนธรรมการไม่ชอบการรวมกลุ่ม
                  Consciousness) ให้เกิดขึ้น เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาประชาธิปไตยไปได้ อันจะทำให้
    จากความรักในอิสระมีผลทำให้คนไทยไม่ชอบการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม องค์กร สมาคม  สังคมไทยมีประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพมากขึ้น และหลุดพ้นจากวงจรแห่งความชั่วร้ายและความ
 เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนท้องถิ่น หรือปัญหาที่เกิดขึ้นกับสังคมส่วนรวม   เหลื่อมล้ำทางสังคม ดังที่ปรากฏอยู่ 22
 ดังนั้นการรวมกลุ่มหรือการจัดตั้งองค์กรทางการเมืองขึ้นมาเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใน
 ระดับกว้าง เพื่อต่อสู้เรียกร้องให้มีการปฏิรูปสังคมในประเด็นของการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม   นักวิชาการไทยกล่าวว่า การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองให้เกิดขึ้นในสังคม
 รวมถึงเพื่อวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาของสังคมส่วนรวมด้านอื่นๆ เหมือนดังเช่น   ไทย ถึงแม้นจะต้องใช้เวลานาน แต่ทว่ามีความจำเป็นและมีความสำคัญยิ่ง เพราะวัฒนธรรม
 หลายประเทศในตะวันตกจึงเกิดขึ้นได้ค่อนข้างยาก และจากความรักในอิสระยังส่งผลต่อความรับ  ทางการเมืองแบบพลเมืองถือเป็นรากฐานสำคัญในการแก้ไขปัญหาสังคมการเมือง โดยเฉพาะ

 20
 ผิดชอบต่อสังคมส่วนรวมของคนไทยที่น้อยไปด้วย  เมื่อมีการรวมตัวกันแก้ไขปัญหาของสังคม  ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ต้องผนึกกำลังร่วมกันแก้ไข เพราะฉะนั้นการจะเปลี่ยนแปลง
 ส่วนรวมน้อย ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคมมากยิ่งขึ้น ดังเช่น กรณีเห็นได้ชัดจากการ  ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อพื้นฐานของผู้คนในสังคมไทยที่มีอยู่ดั้งเดิม ในลักษณะของวัฒนธรรม
 ศึกษาของ Robert D. Putnam ที่ผ่านมา เป็นต้น   ทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (subject political culture) ที่ประชาชนมักเป็นผู้รอรับคำสั่งจากฝ่ายรัฐ
                  เพียงอย่างเดียว และมักมีส่วนร่วมน้อยในการแก้ไขปัญหาสาธารณะให้เป็นวัฒนธรรมทางการเมือง
 โดยสรุป พื้นฐานของวัฒนธรรมทางการเมืองไทยดังที่กล่าวมาแล้ว เช่น วัฒนธรรมทาง   แบบใหม่ หรือวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองขึ้นได้นั้น จะต้องค่อยๆ ดำเนินการและ

 การเมืองแบบอำนาจนิยม วัฒนธรรมทางการเมืองแบบเฉื่อยชาไม่สนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง  ต้องปลูกฝังจากทุกภาคส่วนในสังคม 23
 หรือปัญหาของสาธารณะ วัฒนธรรมแบบเจ้าขุนมูลนายและการจัดลำดับฐานะสูง - ต่ำในความ
 สัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการไม่ชอบรวมกลุ่มกันแก้ไขปัญหา ล้วนมีส่วนเอื้อให้เกิดความเหลื่อมล้ำ  มีผลงานการศึกษาวิจัยจำนวนมาก พบว่า กระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมือง
 ทางสังคมทั้งสิ้น       ของสถาบันทางสังคมต่างๆ มีอิทธิพลต่อการปลูกฝังวัฒนธรรมทางการเมืองแบบใดแบบหนึ่งให้
                  เกิดขึ้นแก่สมาชิกในสังคมได้ ดังนั้น หากเราต้องการพัฒนาให้ระบอบประชาธิปไตยของไทย

 4. การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองกับการแก้ไขปัญหา  มีความเสมอภาค และสามารถลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมได้ สถาบันที่เป็นตัวแทนต่างๆ
 ความเหลื่อมล้ำทางสังคม    ในสังคม (agents) จะต้องมีบทบาทสำคัญในการอบรมกล่อมเกลาให้คนเรายึดมั่นในหลักการ
                  ปกครองของระบอบประชาธิปไตยที่มีความเสมอภาคและความเท่าเทียมดังกล่าว

 ในอดีตที่ผ่านมาเราได้พยายามเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ระบบ และสถาบันทางการเมือง   ในอดีตถึงแม้ว่าจะมีบทบัญญัติทางกฎหมาย ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 ครั้งแล้วครั้งเล่า แต่ไม่ค่อยได้คำนึงถึงปัจจัยพื้นฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะ  พ.ศ. 2550 ที่ขยายความถึงบทบาทของประชาชน จากที่เคยเป็นเพียง “ผู้รอคอยดู” มาสู่การ

 อย่างยิ่งการมุ่งปลูกฝัง “วัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมือง” (civic culture) ให้กลายเป็น  “เป็นผู้มีส่วนร่วม” ได้ทำให้ประชาชนกลายเป็นพลเมืองอย่างเต็มรูปแบบ หรือแม้กระทั่งใน
 ส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตผู้คนในสังคม จึงทำให้ประชาธิปไตยของไทยล้มลุกคลุกคลานตลอดมา 21  ปัจจุบันกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2560 ที่รับรองสิทธิของ
 จะเห็นได้ว่า การปฏิรูปการเมืองที่ถูกต้องคือ ต้องทำให้คนไทยทุกคนมีการปรับปรุงแก้ไขทัศนคติ   ประชาชน เช่น สิทธิของประชาชนที่จะมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในกระบวนการกำหนดนโยบาย
 ค่านิยม ระบบความคิดความเชื่อพื้นฐานและพฤติกรรมของตนเองเพื่อให้หลุดพ้นออกจาก   ออกกฎหมายที่จะมีผลกระทบต่อตัวเอง  แต่ประชาชนเองกลับมิได้ตอบสนองสิทธิอันพึงมีเท่าที่ควร
                                                  24
 ความเชื่อและการยึดมั่นอยู่กับวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมที่ฝังรากลึกมานาน เพราะสภาพการณ์
 ดังกล่าวนี้ ย่อมไม่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาระบอบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยและมีความ   22   พรอัมรินทร์  พรหมเกิด. (2557). “วัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชนกับการพัฒนาประชาธิปไตย”.
                  วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ (ฉบับปฐมฤกษ์) พ.ศ. 2557. หน้า 83 - 91.                      บทความที่ผ่านการพิจารณา
    20   พรอัมรินทร์  พรหมเกิด. (2558.). “ปฏิรูปการเมืองไทยด้วยการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ     23   ชัยอนันต์  สมุทวณิชและคณะ. (2553). วัฒนธรรมพลเมือง. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
 ประชาธิปไตย: สู่เส้นทางใหม่ที่ดีกว่า” รัฐสภาสาร. 63, 11 (พฤศจิกายน). หน้า 9 - 34.   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11, (2) (22). 7 - 10.
 21   พรอัมรินทร์  พรหมเกิด. (2556). สังคมวิทยาการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย     24   ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. สืบค้นจาก https://
 ขอนแก่น.         www.ilaw.or.th.
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398