Page 394 - kpi21190
P. 394

394



               เหตุเพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเพียงพอต่อหน้าที่ความเป็นพลเมือง                                 จะเห็นได้ว่าในสังคมประชาธิปไตยการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ หรือ
               อันเนื่องมาจากในอดีตที่ผ่านมายังไม่เคยมีการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาพลเมือง หรือมีการสร้าง                     วัฒนธรรมแบบพลเมือง (civic culture) จึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างมาก การสร้าง
               วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่อย่างครอบคลุม ครบถ้วนทุกมิติ เพราะฉะนั้นการจะมุ่งปลูกฝัง                         วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ในสังคมประชาธิปไตย ยังหมายถึงการกำหนดค่านิยมใหม่
               ค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่จำเป็นต้องปลูกฝัง กล่อมเกลาบ่มเพาะในทุกมิติและ                            ทางการเมือง เพื่อนำไปสู่ความเป็นสังคมประชาธิปไตยที่มีความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
               ทุกภาคส่วนของสังคม อันจะเป็นการสร้างคุณค่าใหม่ให้เกิดขึ้นกับทางสังคม ซึ่งสามารถ                            โดยต้องมีลักษณะองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ 27

               ดำเนินการได้ ดังต่อไปนี้
                                                                                                                               1) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ ต้องทำให้เกิดการปฏิบัติการทางการเมืองร่วมกันด้วย
                    1) การอบรมบ่มเพาะในระดับสถาบันครอบครัว ต้องให้พ่อแม่มีบทบาทสำคัญในการ                                 ความสมานฉันท์ และมีการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
               บ่มเพาะจิตสำนึกความเป็นพลเมืองให้กับเยาวชนตั้งแต่วัยเยาว์ โดยการบ่มสอนให้รู้จักคิด                         และกำหนดความเป็นไปเรื่องราวทางสังคมและการเมืองให้มากขึ้น
               วิเคราะห์ ตระหนักถึงปัญหาของสังคมการเมืองว่า เป็นปัญหาที่สำคัญของทุกคนและต้องร่วมกัน
               แก้ไข และการบ่มสอนให้รู้จักเคารพสิทธิ รักความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันของสมาชิก                               2) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ จะต้องทำให้เกิดค่านิยมใหม่ของผู้คนที่มุ่งไปสู่การ

               ในสังคม ซึ่งสิ่งเหล่านี้หากได้รับการอบรมบ่มเพาะเป็นเวลานาน จะกลายเป็นค่านิยมพื้นฐาน                        รวมตัวกันเป็นกลุ่ม สมาคม หรือองค์กร แล้วจะต้องทำให้เกิดแนวคิดหรือแนวทางปฏิบัติ ที่ทำให้
               ในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยได้ในระยะยาว                                                        ค่านิยมพื้นฐานเรื่องการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมได้ถูกนำไปปฏิบัติจริง หรือเกิดแผนงาน
                                                                                                                          โครงการปฏิบัติการทางการเมืองที่สอดคล้องกับค่านิยมพื้นฐานเหล่านั้น
                    2) การเปิดสอนวิชาวัฒนธรรมแบบพลเมืองในสถาบันการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
               โรงเรียนจนถึงสถาบันอุดมศึกษา เพราะสถาบันการศึกษามีครูผู้สอนที่ช่วยถ่ายทอดความรู้ และ                            3) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ ต้องส่งเสริมให้เกิดการอภิปรายปัญหาสาธารณะ

               ประสบการณ์ความเป็นพลเมืองให้สามารถเข้าใจได้ง่าย ในต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จใน                           ในเรื่องการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมอย่างต่อเนื่อง และต้องมีการกระตุ้นให้เกิด
               การสร้างพลเมืองแบบใหม่ จะมีการนำหลักสูตร “Civic Education” มาใช้ เช่น ในประเทศ                             การถกเถียงกันเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม ในวัฒนธรรมทางการเมือง
               เยอรมันและอิตาลี ซึ่งการจะสร้างความเข้าใจให้กับผู้คนในสังคมได้ จำเป็นต้องพึ่งพาระบบ                        แบบใหม่นี้ยังต้องการพื้นที่สาธารณะ เพื่อการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถกเถียงกัน
               การศึกษาเป็นบทบาทกลางในการทำหน้าที่ให้เกิดการเรียนรู้ความเป็นพลเมืองอย่างยั่งยืน                           อันจะนำไปสู่ความเข้าใจร่วมกันในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่เกิดขึ้น
               นอกเหนือจากสองประเทศดังกล่าว ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน มีการจัดการเรียนการสอน                               ในท้ายที่สุดแล้ว การพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่หรือแบบพลเมืองจะเกิดขึ้นได้
               วิชา “วัฒนธรรมแบบพลเมือง” ในหลายโรงเรียน ดังนั้นหากสังคมไทยต้องการสร้างวัฒนธรรม                            ก็ต่อเมื่อเกิดการทำหน้าที่ของ “การเป็นพลเมือง” (Citizenship) ในกลุ่มคนส่วนใหญ่ของ

               แบบพลเมืองให้เกิดขึ้นกับผู้คน จำเป็นต้องใช้ระบบการศึกษาในการส่งเสริมและสนับสนุน แต่ทั้งนี้                 ประเทศอย่างแท้จริง จนกลายเป็นค่านิยมของประชาชนหมู่มากในสังคม คุณสมบัติของพลเมือง
               การสร้างพลเมืองแบบใหม่ต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมทางการเมืองของ                       ที่เอื้อต่อหลักการประชาธิปไตยเพื่อสร้างความเท่าเทียมและแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม
               ไทยเป็นสำคัญด้วย 25                                                                                        เช่น การคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน การรักความยุติธรรม มีความเห็นอกเห็นใจต่อ
                                                                                                                          เพื่อนมนุษย์และผู้ทุกข์ยาก การรู้จักใช้สิทธิของตนเองและรู้จักเคารพสิทธิผู้อื่น มีคุณธรรมและ
                    3) การใช้ช่องทางสื่อสารมวลชน (Social Media) เพื่อช่วยปลูกฝังวัฒนธรรมทาง

               การเมืองแบบพลเมืองให้เกิดอย่างต่อเนื่อง ดังเช่น การใช้สื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีส่วนร่วม ในการ                จริยธรรม มีความสำนึกในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เช่น มีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะ
               แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความเหลื่อมล้ำทางสังคม หรือประเด็นปัญหาสังคม                          เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง การกล้าออกมาวิพากษ์วิจารณ์นโยบายของรัฐบาล
               การเมืองอื่นๆ เพราะอินเทอร์เน็ตมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยไร้ข้อจำกัด                         ที่สร้างปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมขึ้นให้ความสนใจติดตามควบคุมตรวจสอบการทำงานของ
               เชิงภูมิศาสตร์ และสามารถรวมกลุ่มคนของสังคมขนาดใหญ่เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนสังคมที่มี                      รัฐบาลอย่างจริงจัง มีจิตสำนึกในการรวมกลุ่มเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของสังคมและชุมชน หรือ
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   เหลื่อมล้ำทางสังคมได้ 26                                                                   27   ประมวล  รุจนเสรี. (2551). ปฏิวัติวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : พรรคประชามติ.
                                                                                                                          อาจมีการรวมตัวกันคัดค้านโครงการที่ไม่มีเหตุผลพอ หรืออาจสร้างปัญหาส่งผลกระทบในทาง
               ความสนใจร่วมกัน อันจะเกิดการรวมตัวกันเพื่อสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆ ในการแก้ไขปัญหาความ
                                                                                                                                                                28
                                                                                                                          เสียหายต่อชุมชนท้องถิ่นในด้านต่างๆ เป็นต้น



                 25
                    ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. (2553). ไปดู Civic Education ที่เยอรมัน (ตอนที่ 3) มนุษย์ไม่มียีน

               ประชาธิปไตยในตัวเอง. สถาบันนโยบายศึกษา. สืบค้นจาก http://www.fpps.or.th.
                                                                                                                             28
                                                                                                                               พรอัมรินทร์  พรหมเกิด. (2557). “วัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชนกับการพัฒนาประชาธิปไตย”
                 26
                    สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิดัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). ความเป็นพลเมือง
               ดิจิทัล: พลเมืองแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://thaidigizen.com/contact/.                              วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ (ฉบับปฐมฤกษ์) พ.ศ. 2557. หน้า 83 - 91.
   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398   399