Page 397 - kpi21190
P. 397

397



 กล่าวโดยสรุปแล้ว การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมให้ได้นั้น ผู้คนในสังคมต้องมี  ทางการเมืองแบบพลเมืองให้เกิดขึ้นกับประชาชน อันเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่ จะเห็น
 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบใหม่หรือวัฒนธรรมแบบพลเมือง นอกจากคุณสมบัติของพลเมือง   ได้ว่าประชาชนมิได้มีวัฒนธรรมแบบพลเมืองที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นผลมาจาก
 ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ผู้คนที่มีวัฒนธรรมแบบพลเมืองยังต้องมีความคิดความเชื่อในเบื้องต้นว่า   การกล่อมเกลาทางการเมืองโดยตัวแทน หรือสถาบันต่างๆ ดังนั้นจึงต้องมีองค์กรและสถาบัน
 “การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมเป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่ต้องเอาใจใส่ และมีความ    ต่างๆ ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดวัฒนธรรมแบบพลเมืองให้กับผู้คน อันได้แก่ ครอบครัว ชุมชน
 รับผิดชอบร่วมกันที่จะต้องเข้าไปดำเนินการ จะหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธความรับผิดชอบของตน    สถาบันการศึกษา สื่อมวลชน ฯลฯ พร้อมกับการสร้างจิตสำนึกแบบพลเมืองให้เกิดขึ้น เพื่อนำไป

 หาได้ไม่” จะเห็นได้ว่าถึงที่สุดแล้ว การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมให้สำเร็จได้นั้น    สู่การสร้างสังคมประชาธิปไตยที่มีความเสมอภาคและเท่าเทียม นั่นคือการแก้ไขปัญหาความ
 ต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาให้ประชาชนมีจิตสำนึกของความเป็นพลเมืองเสียก่อน ทว่าจิตสำนึก  เหลื่อมล้ำทางสังคมเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนที่ต้องเอาใจใส่ และมีความรับผิดชอบร่วมกันที่
 ของความเป็นพลเมืองที่แท้จริงต้องสะท้อนออกมาในตัวคน ดังต่อไปนี้    จะเข้าไปดำเนินการ จะหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธความรับผิดชอบของตนหาได้ไม่ การแก้ไขปัญหา
                  ความเหลื่อมล้ำทางสังคม ไม่อาจทำให้สำเร็จได้ด้วยอำนาจของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ความสำเร็จ
 ประการแรก คือการมองสังคมอย่างที่ตนเป็นเจ้าของ มีความรู้สึกร้อนหนาวกับปัญหาของ  เกิดจากความใฝ่ฝันร่วมกันด้วยพลังหรือแรงขับเคลื่อนของสังคม และการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำ
 สังคมและประเทศชาติที่เกิดขึ้น รวมถึงการมองเห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมของประเทศ  จะเกิดผลอย่างกว้างขวางมากขึ้น ต่อเมื่อพลเมืองได้รับการเสริมพลังอำนาจขึ้นมาเพื่อเข้าถึง

 ชาติที่เกิดขึ้นว่า เป็นภัยร้ายแรงของประเทศชาติและเป็นปัญหาของตัวเราเองด้วยที่จะต้องเข้าไปมี  ทรัพยากรต่างๆ ได้ในท้ายที่สุด
 ส่วนร่วมแก้ไข

 ประการที่สอง ต้องเชื่อว่าตนเองมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ให้เป็นไปใน
 ทิศทางที่ดีขึ้นได้ และต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนา แก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงปัญหาความ

 29
 เหลื่อมล้ำทางสังคมและปัญหาอื่นๆ ของประเทศชาติที่เกิดขึ้นเหล่านั้นอย่างจริงจัง  ถ้าปฏิบัติได้
 ตามนี้ก็จะมีพลังทางสังคมในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้


 5. บทสรุป



 ในบทความนี้ได้นำเสนอให้เห็นว่า ปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยมีความสัมพันธ์กับ
 ประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ หากปัญหาดังกล่าวไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้อง อาจนำไปสู่
 การเกิดความไม่พอใจ และเกิดแรงต้านจากประชาชน ในท้ายที่สุดอาจทำให้เกิดความขัดแย้ง
 ทางการเมืองขึ้นได้ ปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยมีหลายมิติ เช่น มิติความเหลื่อมล้ำด้าน
 การกระจายรายได้ ความเหลื่อมล้ำด้านทรัพย์สินทางการเงิน ความเหลื่อมล้ำด้านการถือครอง
 ที่ดิน ความเหลื่อมด้านการศึกษาและการให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น มิติของปัญหาเหล่านี้
 ยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาอีก


 สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำมาจากสองประการ คือ หนึ่ง เกิดจากปัญหา
 เชิงโครงสร้างของสังคมไทย และสอง ปัญหาพื้นฐานทางด้านวัฒนธรรมทางการเมืองและ
 พฤติกรรมของคนในสังคม โดยเฉพาะพื้นฐานวัฒนธรรมทางการเมืองที่ส่งผลให้เกิดความ
 เหลื่อมล้ำทางสังคม เช่น วัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำนาจนิยม วัฒนธรรมทางการเมืองที่ผู้คน

 เฉื่อยชา ไม่สนใจกิจกรรมทางการเมืองและเรื่องประโยชน์สาธารณะ วัฒนธรรมแบบเจ้าขุน
 มูลนาย มีการจัดลำดับฐานะสูงต่ำในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ยอมรับความไม่เท่าเทียมกัน                        บทความที่ผ่านการพิจารณา
 และไม่ชอบการรวมกลุ่มแก้ไขปัญหาด้วยกัน แนวทางแก้ไขปัญหาคือ การปลูกฝังวัฒนธรรม

 29   พรอัมรินทร์  พรหมเกิด. (2557). “การพัฒนาประชาธิปไตยกับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ
 ประชาธิปไตย” รัฐสภาสาร. 62,7 (กรกฎาคม).หน้า 9 - 44.
   392   393   394   395   396   397   398   399   400   401   402