Page 402 - kpi21190
P. 402
402
บทนำ รายงานดัชนีชี้วัดประชาธิปไตย (Democracy Index) จัดทำโดย The Economist
Intelligence Unit หรือ EIU ได้ทำการวัดระดับประชาธิปไตยของประเทศต่างๆ ในโลก
ความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาสำคัญที่จำเป็นต้องได้รับการจัดการอย่างต่อเนื่องและจริงจัง เปรียบเทียบกัน 167 ประเทศ มีตัวชี้วัดหลัก 5 ด้าน คือ 1. กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม
ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยสามารถพิจารณาได้จากหลายมิติทั้งในด้านรายได้ ทรัพย์สิน ปัจจัย (Electoral process and pluralism) 2. หน้าที่ของรัฐบาล (Functioning of government) 3.
การผลิต การเข้าถึงบริการของรัฐด้านต่างๆ โอกาสในการร่วมตัดสินใจในนโยบายของรัฐ เป็นต้น การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) 4. วัฒนธรรมทางการเมือง (Political
ก่อนที่จะกล่าวถึงความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยว่ามีมากน้อยเพียงใด จำเป็นต้องกล่าวถึง culture) และ 5. เสรีภาพพลเมือง (Civil liberties)โดยสถานการณ์ของประชาธิปไตยไทยในโลก
ความเหลื่อมล้ำกับความสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องในบริบททางการเมือง รวมถึงบริบทแห่ง ในปี ค.ศ. 2018 ประเทศไทยได้คะแนน 4.63 อันดับที่ 106 ของโลก จากทั้งหมด 167 ประเทศ
สังคมสันติสุข ที่ไม่มีการใช้ความรุนแรงในระดับต่างๆ เพื่อจะได้เข้าใจว่าความเหลื่อมล้ำมีพลวัต หากเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชียและออสเตรเลีย ประเทศที่ได้คะแนนประชาธิปไตยอันดับ 1
และไม่ได้หยุดนิ่ง และมีปฏิสัมพันธ์กับบริบทอื่นอย่างมีความหมายทั้งในฐานะที่เป็นได้ทั้งสาเหตุ ในภูมิภาคนี้คือนิวซีแลนด์ ประเทศไทยได้คะแนนประชาธิปไตยอันดับที่ 20 จากทั้งหมด
และผลลัพธ์ แม้กระทั่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมสันติสุข 22 ประเทศ ประเทศไทยได้อันดับดีกว่าปากีสถานและประเทศเมียนมาร์ ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม
ที่เรียกว่าประชาธิปไตยแบบผสม คะแนนตัวชี้วัดหลักที่ต่ำกว่า 5 หรือต่ำกว่าครึ่งหนึ่งจากคะแนน
ความเหลื่อมล้ำไม่ได้เกิดขึ้นและดำรงอยู่เพียงลำพัง แต่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นๆ เต็ม 10 คือ คือ กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม และหน้าที่ของรัฐบาล
ทั้งประชาธิปไตยเศรษฐกิจ และสังคม ประชาธิปไตยกับความเหลื่อมล้ำเกี่ยวข้องกันอย่างไร?
สังคมที่มีความเหลื่อมล้ำสูง มีความแตกต่างกันมากในด้านรายได้และทรัพย์สิน จะยิ่งทำให้ หากเปรียบเทียบคะแนนประชาธิปไตยของประเทศไทยสิบกว่าปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี
ประชาธิปไตยไม่สามารถสถาปนาหรือทำงานได้ตามที่ควรจะเป็น งานของ International ค.ศ. 2006-2018 ประเทศไทยได้คะแนนดังนี้ ปี ค.ศ. 2006 ได้คะแนน 5.67 ปี ค.ศ. 2008
Institute for Democracy and Electoral Assistance (2017) สรุปไว้ว่า ความเหลื่อมล้ำกัด ได้คะแนน 6.81 ปี ค.ศ. 2010 ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2011 ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2012
เซาะหรือบ่อนทำลายความยืดหยุ่นของประชาธิปไตย เพิ่มการแบ่งขั้วทางการเมือง ขัดขวาง ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2013 ได้คะแนน 6.25 ปี ค.ศ. 2014 ได้คะแนน 5.39 ปี ค.ศ. 2015
ความสมานฉันท์ในสังคม และความไว้วางใจต่อการสนับสนุนประชาธิปไตย ประจักษ์ ก้องกีรติ ได้คะแนน 5.09 ปี ค.ศ. 2016 ได้คะแนน 4.92 ปี ค.ศ. 2017 ได้คะแนน 4.63 (อันดับที่
(2559) กล่าวว่า ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและความแตกแยกทางสังคมนั้นก่อให้เกิดภาวะ 106) และในปี ค.ศ. 2018 ได้คะแนน 4.63 เช่นกัน (อันดับที่ 106) โปรดดูรายละเอียดใน
ชะงักงันทางการเมือง และได้เปรียบเทียบให้เห็นภาพว่า คนที่อยู่บนยอดของพีระมิดกับคนที่อยู่ ภาพด้านล่าง
ฐานของพีระมิดจะมีผลประโยชน์และความต้องการที่แตกกต่างกันจนยากจะประสานกันได้ และ ภาพที่ 1 : ดัชนีประชาธิปไตยไทยตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006-2017
ความต้องการและประโยชน์ที่แตกกต่างกันนี้ แต่ละฝ่ายจะพยายามปกป้องประโยชน์ของกลุ่มตน
และปิดกั้น กีดกันอีกฝ่ายเพื่อให้ฝ่ายตนได้ประโยชน์มากกว่า คอลลิน (2014) ได้อธิบายไว้ใน
ทิศทางเดียวกันว่าหากความมั่งคั่งกระจุกตัว จะนำไปสู่การลุกฮือขึ้นในประเทศต่างๆ ทั้งกรณี
การยึดวอลล์สตรีทในสหรัฐอเมริกา อาหรับสปริงในตูนีเซียและขยายไปถึงอียิปต์ ซีเรีย
ปากีสถาน
ในทางกลับกันสังคมที่มีประชาธิปไตยต่ำยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำสูงขึ้น นิธิ เอียวศรีวงศ์
(2561) ได้กล่าวถึงอำนาจทางการเมืองของคนด้อยอำนาจหรือชายขอบอำนาจไว้ว่า คนที่มีอำนาจ
ทางการเมืองน้อย ไม่ว่าจะขยันเพียงใดก็ตาม แต่ไม่สามารถมีอำนาจหรือร่วมใช้อำนาจในการต่อรอง
กำหนดนโยบายหรือมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายเพื่อประโยชน์ของกลุ่มตนได้ แต่กลับถูก
บทความที่ผ่านการพิจารณา ภาครัฐออกกฎหมายที่กีดกันคนด้อยอำนาจในการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ออกกฎหมาย
กีดกันมิให้ผู้ประกอบการรายเล็กผลิตสินค้าแข่งกับนายทุนรายใหญ่ได้ และการเมืองที่เหลื่อมล้ำ
ไม่มีพื้นที่ต่อรองทางการเมืองที่เท่าเทียม มีแนวโน้มที่จะนำไปสู่การใช้ความรุนแรงได้มากขึ้น เช่น
การประท้วงอย่างรุนแรง เพื่อทำให้เปิดพื้นที่ทางการเมืองอย่างเท่าเทียมมากขึ้น จากงานที่
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้กล่าวไว้พอจะสรุปได้ว่า ประชาธิปไตยยังมีความสัมพันธ์กับสันติสุขหรือการไม่ใช้
ความรุนแรง หากสังคมใดมีการเปิดพื้นที่ทางการเมืองให้ประชาชนได้ร่วมตัดสินใจเพื่อเข้าถึง
การใช้ทรัพยากรได้อย่างเท่าเทียมกัน มีแนวโน้มที่จะไม่เกิดความรุนแรงขึ้นในสังคม ที่มา : https://infographics.economist.com/2018/DemocracyIndex/