Page 407 - kpi21190
P. 407

407



    3. ช่องว่างของความยากจน (Poverty Gap) วัดอัตราของประชากรที่ดำรงชีพต่ำกว่า   1.  การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม ปี ค.ศ. 2016 (1.89) ปี ค.ศ. 2017 (2.26)
 2 ดอลลาร์ต่อวัน รายได้ของคนที่แตกต่างกันมากหรือแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง อาจ  อันดับ 1 ปี ค.ศ. 2018 (2.45) อันดับ 1 จาก 8 อันดับ ทั้ง 3 ปี
 นำมาซึ่งปัญหาไม่สันติสุขในสังคม
                       2.  ระดับของทุนทางมนุษย์ ปี ค.ศ. 2016 (2.954) อันดับ 4 ปี ค.ศ. 2017 (2.62)

 2)  ระดับของทุนทางมนุษย์ (High Levels of Human Capital) เป็นการใช้ฐานทุนทาง  อันดับ 2 ปี ค.ศ. 2018 (2.65) อันดับ 2 จาก 8 อันดับ
 มนุษย์ เน้นให้การเรียนรู้กับพลเมืองเพื่อพัฒนาด้านเศรษฐศาสตร์ มีตัวชี้วัดจำนวน
 3 ตัวประกอบด้วย    3. ความเหลื่อมล้ำกับสันติสุขในสังคมไทย : ดัชนีสันติสุขในสังคมไทย
                  (Thailand Peace Index- TPI)
    1. การเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา (Secondary school enrolment) การศึกษา

 เป็นการพัฒนาทุนมนุษย์เป็นอย่างดี และการศึกษาเป็นช่องทางนำมาซึ่งรายได้
 อาชีพที่ดี โดยวัดจากเปอร์เซ็นต์ของประชากรในการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษา     จากรายงานดัชนีสันติภาพเชิงบวกของโลก ที่จัดทำโดยสถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ
                  เป็นการวัดระดับสันติภาพในโลกรวมถึงสันติภาพของประเทศไทยเปรียบเทียบในระดับสากล
    2. ดัชนีการพัฒนาเยาวชน (Youth Development Index) วัดเยาวชนอายุ 15-29 ปี   ทำให้ได้เห็นภาพของสันติภาพโลกในภาพกว้างได้ อาจเปรียบได้กับการมองจากภายนอกสู่ภายใน
 ใน 5 ด้าน การศึกษา สุขภาพ การอยู่ดี มีงานทำ การมีส่วนร่วมของประชาชน  แต่อาจขาดมิติที่มองจากบริบทของประเทศไทยเอง เปรียบได้กับการมองจากภายในสู่ภายนอก
 และการมีส่วนร่วมทางการเมือง การวัดทุนทางมนุษย์โดยเน้นที่เยาวชนเนื่องจาก  ด้วยความแตกต่างของบริบทในสังคมที่ไม่เหมือนกัน ตัวชี้วัดด้านสันติภาพของแต่ละแห่งย่อมไม่

 เยาวชนเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว    เหมือนกันในการนำมาอธิบายปรากฎการณ์แต่ละสังคม รวมถึงความแตกต่างของวิธีการจัดเก็บ
                  ข้อมูล อีกทั้งการเก็บข้อมูลของต่างประเทศเป็นการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับประเทศ ยังไม่ได้
    3. ดัชนีนวัตกรรมโลก (Global innovation index) ดัชนีนี้เน้นนวัตกรรมและเครื่องมือ  เก็บข้อมูลลงถึงระดับภูมิภาคหรือจังหวัด ประกอบกับการเก็บข้อมูลด้านสันติภาพในระดับโลก
 ที่ช่วยให้การจัดทำนโยบายสามารถเพิ่มการเติบโตในระยะยาว ปรับปรุงผลิตภาพ  ยังขาดมิติที่เป็นบริบทของประเทศไทย ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมือง
 และการเจริญเติบโตของงาน การใช้ดัชนีนี้เพิ่งได้นำมาใช้ในปี ค.ศ. 2017 และ  แต่การเก็บข้อมูลของสากลนั้นใช้ตัวชี้วัดชุดเดียวกันในการเปรียบเทียบ 163 ประเทศที่มี

 ปีค.ศ. 2018 ซึ่งก่อนหน้านี้ใช้ตัวชี้วัดอื่นคือ จำนวนของการตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์   การสำรวจอาจทำให้ได้เห็นภาพของสันติภาพในเชิงเปรียบเทียบ แต่ขาดความลึกในเฉพาะเจาะจง
 (Number of Scientific Publication)
                  ภายใน สถาบันพระปกเกล้าจึงได้สร้างดัชนี และตัวชี้วัดที่ใช้สำหรับประเทศไทยเป็นการเฉพาะ
 คะแนนสันติภาพเชิงบวกของไทยในโลก เปรียบเทียบ 3 ปีระหว่าง ปี ค.ศ. 2016-2018    ในด้านของสันติสุขเรียกว่า Thailand Peace Index- TPI
 ปี ค.ศ. 2016 ได้คะแนนอันดับที่ 71 ได้คะแนนรวม 2.987 ปี ค.ศ. 2017 ได้คะแนนอันดับ   ดัชนีสันติสุขในสังคมไทยเน้นวัดระดับสันติภาพในสังคมไทย ทั้งสันติภาพเชิงลบและ
 ที่ 76 ได้คะแนนรวม 3.1 ปี ค.ศ. 2018 ได้คะแนนอันดับที่ 74 ของโลก ได้คะแนนรวม 3.07   สันติภาพเชิงบวก มีองค์ประกอบของกลุ่มตัวชี้วัดด้านสันติภาพจำนวน 4 ด้าน ประกอบด้วย

 หากพิจารณาจากตัวชี้วัดหลัก 2 ด้าน เปรียบเทียบเฉพาะในประเทศไทยจากตัวชี้วัด 8 ด้านหลัก   1) ไม่มีความรุนแรงทางกายภาพ 2) ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม 3) การยอมรับ
 จะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดที่ได้คะแนนสูงที่สุดของประเทศไทยคือ 1.การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม   ความแตกต่างหลากหลาย/การไม่ถูกเลือกปฏิบัติ/การเคารพสิทธิมนุษยชน และ 4) มีความเหลื่อมล้ำ
 และ2.ระดับของทุนทางมนุษย์ มีรายละเอียดคือ
                  ในสังคมน้อยและมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม รวมจำนวนตัวชี้วัดทั้งสิ้น 23 ตัวชี้วัด
 ตารางที่ 1 : เปรียบเทียบคะแนนและอันดับตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำจากดัชนีสันติภาพ   ตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำในสังคม ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 8 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
 เชิงบวกเปรียบเทียบ 3 ปี
                         P4.1 มุมมองต่อความเหลื่อมล้ำในสังคม (เก็บข้อมูลระดับจังหวัด/เก็บข้อมูลด้วย

 ประเด็น   ปี ค.ศ. 2016   ปี ค.ศ. 2017   ปี ค.ศ. 2018   การสำรวจความคิดเห็น)

 - การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม   คะแนน 1.89    คะแนน 2.26    คะแนน 2.45       P4.2 ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ (เก็บข้อมูลระดับจังหวัด/เก็บข้อมูลจากหน่วยงาน)
 อันดับ 1   อันดับ 1   อันดับ 1                                                                            บทความที่ผ่านการพิจารณา

 - ระดับของทุนทางมนุษย์      คะแนน 2.954   คะแนน 2.62    คะแนน 2.65       P4.3 การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐาน (เก็บข้อมูลระดับระดับประเทศ/เก็บข้อมูลจากหน่วยงาน)
  อันดับ 4   อันดับ 2   อันดับ 2
                         P4.4 ช่องว่างของความยากจน (เก็บข้อมูลระดับจังหวัด/เก็บข้อมูลจากหน่วยงาน)
 ที่มา :  สรุปจากดัชนี Positive Peace Index ค.ศ. 2016-2018
   402   403   404   405   406   407   408   409   410   411   412