Page 411 - kpi21190
P. 411
411
ตารางที่ 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำไม่เท่าเทียม P4.3 ตัวชี้วัด การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐาน
กันในสังคมไทย
คำอธิบายตัวชี้วัด
ระดับความคิดเห็น
ตัวชี้วัดการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐาน พิจารณาจากร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงบริการ
ประเภทความเหลื่อมล้ำ รวม เห็นด้วย ค่อนข้าง ไม่ค่อย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความ
อย่างยิ่ง เห็นด้วย เห็นด้วย เลย คิดเห็น พื้นฐาน จำแนกตามกลุ่มครัวเรือนตามระดับรายได้ประจำเฉลี่ยต่อคน (บริการพื้นฐาน : ไฟฟ้า
๏ ด้านรายได้และ 100.0 36.9 50.2 6.6 2.2 4.1 ภายในบ้าน น้ำประปาภายในบ้าน โทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต)
ทรัพย์สิน 87.1 จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๏ ด้านการศึกษา 100.0 24.8 52.6 14.5 3.5 4.6 จากข้อมูลการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานพบว่า ผู้ใช้น้ำประปา พ.ศ. 2560 รวมทั้ง
77.4 ประเทศ 4,297,071 คน คิดเป็นร้อยละ 6.59 ระดับการเข้าถึงเมื่อคำนวณแบบ Z Score อยู่ใน
๏ ด้านกฎหมายและ 100.0 23.2 51.0 15.5 4.1 6.2 ระดับที่ 1 ผู้ใช้ไฟฟ้า พ.ศ. 2560 รวมทั้งประเทศ 19,124,061 คน คิดเป็นร้อยละ 29.33 ระดับ
กระบวนการยุติธรรม 74.2
การเข้าถึงเมื่อคำนวณแบบ Z Score อยู่ในระดับที่ 2 ครัวเรือนที่ใช้โทรศัพท์พื้นฐาน พ.ศ. 2560
๏ ด้านสาธารณสุข/ 100.0 17.2 51.4 20.8 5.4 5.2 จำนวน 1,989,907 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.25 ระดับการเข้าถึงเมื่อคำนวณแบบ Z Score
การดูแลสุขภาพ 68.6 อยู่ในระดับที่ 1 ครัวเรือนที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2560 จำนวน 13,850,287 ครัวเรือน
๏ การเข้าถึง/ใช้ประโยชน์ 100.0 14.9 51.3 20.8 5.5 7.5 คิดเป็นร้อยละ 64.38 ระดับการเข้าถึงเมื่อคำนวณแบบ Z Score อยู่ระดับที่ 4 ครัวเรือนที่ใช้
จากทรัพยากรธรรมชาติ 66.2 คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 จำนวน 5,334,142 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 24.79 ระดับการเข้าถึง
๏ การมีส่วนร่วมทาง 100.0 14.7 51.2 20.3 5.1 8.7
การเมือง 65.9 เมื่อคำนวณแบบ Z Score อยู่ระดับที่ 2 ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต พ.ศ. 2560
๏ สาธารณูปโภค 100.0 15.5 50.2 22.1 6.1 6.1 มีจำนวน 13,850,287 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 64.4 ระดับการเข้าถึงเมื่อคำนวณแบบ
ขั้นพื้นฐาน 65.7 Z Score อยู่ระดับที่ 4 ซึ่งเฉลี่ยแล้วการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานอยู่ที่ระดับ 2
๏ ด้านเพศ 100.0 14.0 45.3 27.2 7.4 6.1 P4.4 ตัวชี้วัด ช่องว่างของความยากจน
59.3
ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2561. คำอธิบายตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดช่องว่างของความยากจน ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
P4.2 ตัวชี้วัด ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้
และสังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้
คำอธิบายตัวชี้วัด
จากข้อมูลช่องว่างความยากจนโดยเฉลี่ย พ.ศ. 2557-2559 เท่ากับ 1.47 และใน
ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ พ.ศ. 2560 เท่ากับ 1.48 เมื่อคำนวณตัวชี้วัดแบบ Z Score จะได้เท่ากับ 0.015 ซึ่งจัดอยู่ใน
สังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini ระดับตัวชี้วัดสันติภาพระดับที่ 5
coefficient) ด้านรายได้ เช่น รายได้กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนรวยมากน้อยเพียงใด
P4.5 ตัวชี้วัด ความเหลื่อมล้ำด้านทรัพย์สินการเงิน
จากข้อมูล โดยเฉลี่ยค่า Gini หรือค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคทางด้านรายได้ของ คำอธิบายตัวชี้วัด
ประเทศไทย พ.ศ. 2556-2558 อยู่ที่ 4.43 ซึ่งเมื่อแยกคำนวณค่าดัชนีตามแบบ Z Score จะอยู่ใน
ระดับตัวชี้วัดสันติภาพ ระดับที่ 3 ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านทรัพย์สินการเงิน ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้ บทความที่ผ่านการพิจารณา
จากข้อมูลโดยเฉลี่ย พ.ศ. 2560 เงินออมในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์และบัญชี
เงินฝากประจำธนาคารพาณิชย์ กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มที่มีเงินฝากไม่เกินกว่า 50,000 บาท มีจำนวน