Page 413 - kpi21190
P. 413
413
82,188,883 บัญชี คิดเป็นร้อยละ 86.72 ของบัญชีทั้งหมด เมื่อคำนวณตัวชี้วัดแบบ Z Score จำนวนผู้ที่เรียนจบในวุฒิการศึกษาระดับ ปวส./อนุปริญญา/ปริญญาตรี/สูงกว่า
จะได้เท่ากับ 0.015 ซึ่งจัดอยู่ในระดับตัวชี้วัดสันติภาพระดับที่ 5 ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 21.24 ของจำนวนประชากรทั้งหมดที่มีอายุมากกว่า 25 ปี
เมื่อคำนวณตัวชี้วัดแบบ Z Score อยู่ในระดับตัวชี้วัดสันติภาพระดับที่ 5
ส่วนข้อมูลกลุ่มที่มีเงินฝากเกินกว่า 10 ล้านบาทขึ้นไปโดยเฉลี่ยในปี 2560 มีจำนวน
120,496 บัญชี คิดเป็นร้อยละ 0.13 ของบัญชีทั้งหมด
4. เปรียบเทียบผลการศึกษาด้านความเหลื่อมล้ำจากดัชนีสันติภาพ
P4.6 ตัวชี้วัด ความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดิน เชิงบวก (PPI) กับดัชนีสันติสุขในสังคมไทย (TPI)
คำอธิบายตัวชี้วัด
จากคะแนนสันติภาพเชิงบวกของไทยในโลกจากรายงาน PPI เปรียบเทียบ 3 ปี ระหว่าง
ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดิน ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ ปี ค.ศ. 2016-2018 ปี ค.ศ. 2016 ได้คะแนนอันดับที่ 71 ได้คะแนนรวม 2.987 ปี ค.ศ. 2017
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้ ยกตัวอย่างกลุ่มผู้ถือครองที่ดินร้อยละ 10 ได้คะแนนอันดับที่ 76 ได้คะแนนรวม 3.1 ปี ค.ศ. 2018 ได้คะแนนอันดับที่ 74 ของโลก
ที่มีการถือครองที่ดินมากที่สุด มีส่วนแบ่งการถือครองที่ดินร้อยละ 61.48 ซึ่งมีสัดส่วนสูงกว่า ได้คะแนนรวม 3.07 หากพิจารณาจากตัวชี้วัดหลัก 2 ด้านที่เกี่ยวข้องกับความเหลื่อมล้ำ
ผู้ถือครองที่ดินอีกร้อยละ 90 ที่เหลือ ที่มีส่วนแบ่งการถือครองที่ดินเพียงร้อยละ 38.52 เปรียบเทียบเฉพาะในประเทศไทยจากตัวชี้วัด 8 ด้านหลัก จะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดที่ได้คะแนนสูงที่สุด
ของประเทศไทยในงานของ PPI คือ 1) การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม และ 2) ระดับของทุน
จากข้อมูลร้อยละของครัวเรือนที่มีบ้านและที่ดินเป็นของตนเอง ปี 2559 ภาพรวม ทางมนุษย์ มีรายละเอียดคือ
ประเทศคิดเป็น 70.88 % เมื่อคำนวณตัวชี้วัดแบบ Z Score อยู่ในระดับตัวชี้วัดสันติภาพระดับที่ 4
1. การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรมได้คะแนนดีที่สุดทั้ง 3 ปี ปี ค.ศ. 2016 (1.89)
P4.7 ตัวชี้วัด การกระจายบุคลากรทางการแพทย์ ปี ค.ศ. 2017 (2.26) อันดับ 1 ปี ค.ศ. 2018 (2.45) อันดับ 1 จาก 8 อันดับ ทั้ง 3 ปี
คำอธิบายตัวชี้วัด 2. ระดับของทุนทางมนุษย์ ปี ค.ศ. 2016 (2.954) อันดับ 4 ปี ค.ศ. 2017 (2.62 )
ตัวชี้วัดการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ โดยใช้ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการ อันดับ 2 ปี ค.ศ. 2018 (2.65) อันดับ 2 จาก 8 อันดับ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูล ตัวชี้วัดและแหล่งข้อมูลที่แตกต่างนำมาสู่คะแนนและอันดับที่แตกต่างในด้านความเหลื่อมล้ำ
ในส่วนนี้ เป็นการพิจารณาจากการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ในภูมิภาค
มีความแตกต่างทั้งด้านคะแนนและอันดับ จากการวัดระดับสันติภาพในด้านความเหลื่อมล้ำ
จากรายงานข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุข ปี 2559 จำนวนบุคลากรทั้งหมด จากดัชนี 2 ดัชนี คือ 1) การวัดสันติภาพของไทยในโลก PPI ในด้านความเหลื่อมล้ำ วัดโดย
ทั้งสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและสังกัดสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 750,752 คน สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ และ 2) การวัดสันติภาพของไทยในด้านความเหลื่อมล้ำโดย
เมื่อคำนวณตัวชี้วัดแบบ Z Score อยู่ในระดับตัวชี้วัดสันติภาพระดับที่ 1 สถาบันพระปกเกล้า TPI กล่าวคือคะแนนจากดัชนีสันติภาพเชิงบวกของไทยในด้านความเหลื่อมล้ำ
PPI ได้คะแนนมากที่สุด (2.26คะแนน) อันดับ 1 จาก 8 ตัวชี้วัด มีความเหลื่อมล้ำในสังคมน้อย
P4.8 ตัวชี้วัด การเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย/อาชีวะและปริญญาตรี
และมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม ในขณะที่คะแนนสันติภาพระดับประเทศของไทย
คำอธิบายตัวชี้วัด วัดโดยสถาบันพระปกเกล้า ได้คะแนนน้อยที่สุด (2.75 คะแนน) อันดับที่ 4 จาก 4 อันดับ
ตัวชี้วัดการเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวะและปริญญาตรี ทาง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้ สะท้อน
จากอัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net enrolment rate) เป็นอัตราการศึกษาต่อในระดับต่าง ๆ
จากข้อมูลโดยเฉลี่ยปี 2560 การเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย/อาชีวะ บทความที่ผ่านการพิจารณา
และปริญญาตรี ทางผู้วิจัยได้ใช้ข้อมูลการจบการศึกษาแทน เนื่องจากอัตราการเรียนต่อระดับ
จังหวัดไม่สะท้อนความจริง และบางคนไปเรียนจังหวัดอื่น