Page 418 - kpi21190
P. 418

418



               ประเทศที่เป็นประชาธิปไตยสูง และประเทศที่มีรายได้สูง จะมีระดับสันติภาพเชิงบวกสูง ประเทศ                     บรรณานุกรม
               ที่มีสันติภาพเชิงบวกสูงจะมีความรุนแรงน้อย ดังนั้นการส่งเสริมและพัฒนาควรทำควบคู่กันไป
               ให้เกิดประชาธิปไตย เกิดสันติสุขและการลดความเหลื่อมล้ำ จะทำให้เกิดสังคมที่น่าอยู่ เป็นสังคม                 ภาษาไทย
               ที่พึงปรารถนาที่ประชาชนอยู่ร่วมกันได้อย่างมีคุณค่า มีเกียรติและมีศักดิ์ศรี
                                                                                                                          คอลลิน,ชัค. (2014). 99 ต่อ 1 เกลียวมรณะแห่งความเหลื่อมล้ำ. (ศิริพงษ์ วิทย์วิโรจน์,ผู้แปล).

                    3.  ปรับปรุงดัชนีสันติสุขในสังคมไทย ความเหลื่อมล้ำเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสันติสุข                               นนทบุรี : สำนักพิมพ์มติชน
               จากงานของ TPI การศึกษาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยที่ผ่านมามีตัวชี้วัดจำนวน 8 ตัวชี้วัด                        ชลัท ประเทืองรัตนา. (2562). ดัชนีและตัวชี้วัดด้านสันติภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทยและ
               ตัวชี้วัดที่ประเทศไทยได้คะแนนไม่ดีคือ มุมมองของประชาชนต่อความเหลื่อมล้ำ การเข้าถึง                                  ผลการวัดระดับสันติภาพในสังคมไทย. กรุงเทพ: สถาบันพระปกเกล้า.
               โครงสร้างพื้นฐาน และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบาย                           ประจักษ์ ก้องกีรติ. (29 กรกฎาคม 2559). จากอุดมคติ ‘ป วย’ ถึงปัจจุบัน มุมมอง 4 ศาสตร์
               และผู้ปฏิบัติ ควรเร่งแก้ปัญหานี้อย่างเร่งด่วนในด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการเข้าถึง
               โครงสร้างพื้นฐาน และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ นอกจากนี้อาจพิจารณาทบทวนด้วย                                        ประจักษ์-ยุกติ-อภิชาต-วรเจตน์. มติชนออนไลน์. สืบค้นจาก https://prachatai.com/

               การเพิ่มตัวชี้วัดอื่นๆเข้าไปในการวัดระดับสันติภาพครั้งต่อไป โดยเฉพาะในด้านความเหลื่อมล้ำ                            journal/2016/07/67153.
               อาจเพิ่มตัวชี้วัดด้านอายุขัยเฉลี่ย และการเลื่อนชั้นทางสังคม เป็นต้น โดยพิจารณาจากข้อมูล                    นิธิ เอียวศรีวงศ์. (15 ตุลาคม 2561). ความเหลื่อมล้ำทางการเมือง. มติชนออนไลน์. สืบค้นจาก
               ทุติยภูมิที่มีอยู่แล้วหรือไม่ก็เก็บข้อมูลใหม่เอง  นอกจากนี้เพื่อให้ตัวชี้วัดเป็นที่ยอมรับและมีความ                  https://www.matichon.co.th/article/news_1177141
               ครบถ้วนอาจจะมีการจัดรับฟังความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในด้านความเหลื่อมล้ำและสันติสุขต่อไป                      สติกลิตช์, โจเซฟ อี. (2556). ราคาของความเหลื่อมล้ำ. (สฤณี อาชวานันทกุล, ผู้แปล).

                                                                                                                                   กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์.
                                                                                                                          สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
                                                                                                                                   ความพึงพอใจต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ

                                                                                                                                   พ.ศ. 2561. (ม.ป.พ.)

                                                                                                                          Bourne. (14 มกราคม 2562). ตกต่ำ    The Economist ชี้ประชาธิปไตยไทยอยู่อันดับ 106
                                                                                                                                   ของโลก   . สืบค้นจาก  http://www.ispacethailand.org/political/17711.html
                                                                                                                          ภาษาต่างประเทศ

                                                                                                                          Galtung, J. (1967). Theories of Peace: A Synthetic Approach to Peace Thin ing.
                                                                                                                                   Oslo : International Peace Research Institute.

                                                                                                                          International Institute for Demcracy and Electoral Assistance. (2017). Democracy and
                                                                                                                                   Inequality : A Resource Guide. Retrieve from https://www.idea.int/gsod/files/
                                                                                                                                   IDEA-GSOD-2017-RESOURCE-GUIDE-INEQUALITY.pdf

                                                                                                                          The Economist Intelligence Unit’s. (2018). Democracy Index 2018. Retrieve from
        บทความที่ผ่านการพิจารณา                                                                                           Institute for Economics and Peace. (2016). Positive Peace Report 2016. Retrieved
                                                                                                                                   https://infographics.economist.com/2018/DemocracyIndex/


                                                                                                                                   from http://www.visionofhumanity.org/

                                                                                                                          Institute for Economics and Peace. (2017). Positive Peace Report 2017. Retrieved
                                                                                                                                   from http://www.visionofhumanity.org/
   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423