Page 417 - kpi21190
P. 417

417



    P4. มีความเหลื่อมล้ำในสังคมน้อยและมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม    ในด้านความเหลื่อมล้ำ วัดโดยสถาบันพระปกเกล้า ใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายงานจากหน่วยงานที่เก็บ
    P4.1 มุมมองต่อความเหลื่อมล้ำในสังคม (จังหวัด)   ข้อมูลอยู่แล้ว จากสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และข้อมูลจากสำนักงานหลักประกัน
    P4.2 ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ (จังหวัด)   สุขภาพแห่งชาติ ผสมผสานกับการเก็บข้อมูลปฐมภูมิที่เป็นการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน
    P4.3 การเข้าถึงด้านโครงสร้างพื้นฐาน (ประเทศ)   จำนวน 3 หมื่นกว่าชุดจากทุกจังหวัด การวัดสันติสุขของไทยในงานของ TPI ได้คะแนนไม่ดี
    P4.4 ช่องว่างของความยากจน (จังหวัด)   เนื่องจากมีตัวชี้วัดที่ได้คะแนนน้อยคือ มุมมองของประชาชนต่อความเหลื่อมล้ำ การเข้าถึง

    P4.5 ความเหลื่อมล้ำด้านทรัพย์สินการเงิน (ประเทศ)   โครงสร้างพื้นฐาน และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ ข้อมูล 8 ตัวชี้วัดมีทั้งข้อมูลระดับ
    P4.6 ความเหลื่อมล้ำด้านการถือครองที่ดิน (ประเทศ)   ประเทศและระดับจังหวัดดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ข้อมูลที่เก็บได้ถึงระดับจังหวัดจะทำให้เปรียบเทียบ
    P4.7 การกระจายบุคลากรทางการแพทย์ในภูมิภาค (จังหวัด)   ความแตกต่างกันในด้านความเหลื่อมล้ำในแต่ละจังหวัดได้
    P4.8 การเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย/อาชีวะ และปริญญาตรี (จังหวัด)
                       4.  การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อวัดระดับสันติสุขหรือสันติภาพเป็นระบบการเตือน (Warning)
 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามีตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำจากรายงาน TPI 8 ตัวชี้วัด   เป็นการป้องกันความขัดแย้งไม่ให้ขยายตัวกลายเป็นความรุนแรงได้ พิจารณาได้จากหากคะแนน

 เป็นข้อมูลระดับประเทศ 3 ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 5 ตัวชี้วัด         สันติสุขในประเทศ หรือจังหวัดใดมีคะแนนต่ำ จำเป็นที่ภาครัฐและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะต้อง
                  จับตา เฝ้าระวังหรือมีกลไกในการเข้าไปจัดการเพื่อป้องกันมิให้เกิดความรุนแรงขึ้น อย่างไรก็ตาม
 5. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ   ตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำของ TPI มีความแตกต่างจาก PPI ทั้งในด้าน จำนวนตัวชี้วัด
                  หน่วยในการวิเคราะห์ วิธีการเก็บข้อมูลและแหล่งข้อมูล กล่าวคือ จำนวนตัวชี้วัดที่ไม่เท่ากัน
 สรุปผลการศึกษา   ในด้านความเหลื่อมล้ำ ดัชนี PPI มี 6 ตัวชี้วัดแต่ดัชนี TPI มี 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดดังกล่าวมีทั้ง

                  ตัวชี้วัดที่เหมือนและแตกต่างกัน ในประเด็นหน่วยในการวิเคราะห์ ดัชนี PPI เน้นการวิเคราะห์
 1.  เพื่อเข้าใจความเหลื่อมล้ำอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง ควรศึกษาจากหลายมิติทั้งด้าน
 เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เนื่องจากความเหลื่อมล้ำไม่ได้ดำรงอยู่เพียงลำพัง แต่มีความสัมพันธ์  เปรียบเทียบสันติภาพในระดับโลกเป็นการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนสันติภาพของประเทศต่างๆ

 กับปัจจัยอื่นอย่างมีความหมาย ยกตัวอย่างเช่น สังคมที่มีความเหลื่อมล้ำสูง ชนชั้นที่แตกต่างกัน  แต่ดัชนี TPI เปรียบเทียบสันติภาพ/สันติสุขในประเทศไทยและเป็นการเปรียบเทียบระหว่าง
 จะพยายามปกป้องประโยชน์ของกลุ่มตนและปิดกั้นเพื่อให้ฝ่ายตนได้ประโยชน์มากกว่า และ   คะแนนสันติภาพในระดับจังหวัด วิธีการเก็บข้อมูลและแหล่งข้อมูล ดัชนี PPI เน้นการเก็บข้อมูล
 ในทางกลับกันสังคมที่มีประชาธิปไตยต่ำยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำสูงขึ้น คนที่มีอำนาจทาง   ทุติยภูมิ จากรายงานสถิติของหน่วยงานต่างๆ โดยเลือกข้อมูลจากหน่วยงานที่มีการเก็บข้อมูล
 การเมืองน้อย ไม่มีพื้นที่ต่อรองทางการเมืองที่เท่าเทียม และมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่การใช้ความ  มากกว่า 95 ประเทศ ในขณะที่ ดัชนี TPI เก็บข้อมูลโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายงานจากหน่วยงาน
 รุนแรงได้มากขึ้น นอกจากนี้ ในการวัดระดับความเหลื่อมล้ำ ควรวัดโดยมีมุมมองที่หลากหลาย   ที่เก็บข้อมูลอยู่แล้ว จากสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และข้อมูลจากสำนักงาน

 ในด้านรายได้ ทรัพย์สิน ปัจจัยการผลิต การเข้าถึงบริการของรัฐด้านต่างๆ โอกาสในการร่วม  หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ผสมผสานกับการเก็บข้อมูลปฐมภูมิที่เป็นการสำรวจความคิดเห็น
 ตัดสินใจในนโยบายของรัฐ การเลื่อนชั้นทางสังคม อายุขัยเฉลี่ย     ของประชาชน จำนวนสามหมื่นกว่าชุดจากทุกจังหวัด
                  ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
 2.  จากการศึกษาความเหลื่อมล้ำผ่านงานของ PPI การศึกษาความเหลื่อมล้ำมีความ
 เกี่ยวข้องกับสันติภาพและประชาธิปไตย กล่าวคือ ประเทศที่เป็นประชาธิปไตยสูง และประเทศที่  1.  เพื่อความเข้าใจความเหลื่อมล้ำมากยิ่งขึ้น ควรศึกษาจากหลายมิติและบริบททาง
 มีรายได้สูง จะมีระดับสันติภาพเชิงบวกสูง (ความเหลื่อมล้ำเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสันติสุข)    เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการวัดระดับความเหลื่อมล้ำควรวัดระดับโดยพิจารณาตัวชี้วัด

 อีกทั้งประเทศที่มีสันติภาพเชิงบวกสูงจะมีการเคลื่อนไหวและรับมือกับมวลชนโดยมีความรุนแรง  ที่หลากหลาย เช่น วัดจากด้านรายได้ ทรัพย์สิน การถือครองปัจจัยการผลิต การเข้าถึงบริการ
 น้อยกว่าประเทศที่ตรงกันข้าม กล่าวอย่างเจาะจงถึงตัวชี้วัดของ PPI การวัดสันติภาพในโลกนั้น  ของรัฐด้านต่างๆ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษา การสาธารณสุข การทำงาน กระบวนการ
 ประเทศไทยได้คะแนนดีในตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำเนื่องจาก การวัดตัวชี้วัดเลือกจาก ประเด็น  ยุติธรรม อีกทั้ง โอกาสในการร่วมตัดสินใจในนโยบายของรัฐ การเลื่อนชั้นทางสังคม อายุขัยเฉลี่ย
 อายุขัย โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคม รายได้ต่อวันที่ไม่ต่ำกว่า 2 ดอลลาร์ต่อวัน การเรียนต่อ  การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งความแตกกต่าง นวัตกรรม เป็นต้น โดยการเก็บข้อมูลควรพิจารณา
 ในระดับมัธยมศึกษา การพัฒนาเยาวชนใน 5 ด้าน และดัชนีนวัตกรรม การเลือกตัวชี้วัดจึงมี  ตามความเหมาะสมทั้งจากการสำรวจความคิดเห็นและจากข้อมูลที่เป็นสถิติ ข้อมูล ข้อเท็จจริง  บทความที่ผ่านการพิจารณา
 ความสำคัญและสัมพันธ์กับการได้คะแนนมากหรือน้อยตามมา   ต่างๆ


 3.  จากการศึกษาความเหลื่อมล้ำผ่านงานของ TPI ตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้ำในสังคม   2.  ภาคส่วนต่างๆ ควรส่งเสริมให้เกิดประชาธิปไตย เกิดสันติภาพและการลดความเหลื่อมล้ำ
 ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 8 ตัวชี้วัด วิธีการเก็บข้อมูล การวัดสันติสุขระดับประเทศของไทย   ความเหลื่อมล้ำเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสันติภาพเชิงบวกจากงานของ PPI ดังที่ได้ทราบแล้วว่า
   412   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422