Page 388 - kpi21190
P. 388
388
2) โครงสร้างการบริหารจัดการภาครัฐที่มีลักษณะรวมศูนย์ไว้ที่ส่วนกลาง และ 2.2 ปัญหาเชิงวัฒนธรรมทางการเมืองและพฤติกรรมของผู้คนในสังคมไทย
หัวเมืองใหญ่ต่างๆ ในภูมิภาค ได้ส่งผลกระทบต่อความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการพื้นฐานของ อันเป็นเรื่องของแบบแผนค่านิยม ทัศนคติ ความเชื่อ และความโน้มเอียงของบุคคล
รัฐในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ระหว่างประชากรในเขตเมืองและเขตชนบท และประชากร ที่มีต่อระบบการเมือง แล้วในที่สุดมีผลต่อการแสดงบทบาททางสังคมการเมืองของบุคคลในสังคม
ในแต่ละภูมิภาค บริการพื้นฐานของรัฐทั้งบริการด้านการศึกษา การพัฒนาทักษะฝีมือ นั้นๆ เช่น คนไทยมีค่านิยมยกย่องคนรวยและคนมีอำนาจ แต่ไม่ได้ตั้งคำถามว่า ทรัพย์สินเงิน
11
ด้านสาธารณสุข และโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวหนาแน่นในเขต ทองและอำนาจที่ได้มานั้นมีความสุจริตและมีความถูกต้องหรือไม่ และคนรวยก็มักไม่ช่วยคนจน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งเมืองใหญ่ต่างๆ
หรือคนไทยมีค่านิยมและความเชื่อเรื่องการทำบุญให้กับวัด แต่ไม่พร้อมที่จะบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือ
3) ระบบกรรมสิทธิ์ที่ดิน ที่ดินมีความสำคัญสูง เพราะเป็นปัจจัยพื้นฐานในการ สังคม หรือบริจาคเงินให้กับโครงการรณรงค์เพื่อประโยชน์สาธารณะอื่นๆ โดยเฉพาะการช่วยเหลือ
12
ประกอบอาชีพ และความมั่นคงในการดำรงชีวิต ปัญหากรรมสิทธิ์ที่ดินจึงมีความเชื่อมโยงกับ คนยากคนจน หรือคนด้อยโอกาสต่างๆ จากค่านิยมและความเชื่อพื้นฐานเช่นนี้ ยิ่งซ้ำเติมให้
ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำในด้านโอกาสทางเศรษฐกิจ ที่ดินยังเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมไทยทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ในสังคมที่มีความเหลื่อมล้ำอย่าง
ของฐานชีวิตสำหรับทุกคนและมีอยู่อย่างจำกัด ดังนั้นจึงไม่ควรถือว่าที่ดินเป็น “สินค้าเสรี” มากและสั่งสมมายาวนาน ไม่อาจทำให้คนเชื่อได้ว่าอนาคตของตนและลูกหลานจะดีขึ้นได้
เหมือนสินค้าทั่วไปในตลาดทุนนิยมเสรี การปล่อยให้รัฐและอำนาจทุนเข้าถือครองที่ดินอย่างไม่ ประเด็นที่สำคัญมากกว่านั้นคือ สภาวะความเหลื่อมล้ำอย่างมากจะทำลายศักยภาพ
จำกัด นำไปสู่การสร้างความไม่เป็นธรรมในสังคมอย่างใหญ่หลวง เช่น มีที่ดินจำนวนมากที่ถูก หรือขีดความสามารถที่แฝงเร้นอยู่ของคนเราไม่ให้แสดงออกมา เพราะไม่มีโอกาสหรือไม่มีพลัง
ปล่อยให้รกร้างว่างเปล่าเพราะรัฐครอบครองโดยไม่ใช้ประโยชน์ หรือนายทุนบางรายถือครองที่ดิน เพียงพอหรืออาจเป็นเพราะเสี่ยงเกินไปที่จะริเริ่มสิ่งใหม่ ความเหลื่อมล้ำจึงทำลายทั้งศักยภาพของ
จำนวนมหาศาลเพื่อการเก็งกำไร ทำให้ที่ดินมีราคาแพงจนประชาชนทั่วไปเข้าถึงได้ยาก ขณะที่ ตัวคน กลุ่มทางสังคมต่างๆ และประเทศชาติโดยส่วนรวม การแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางสังคม
เกษตรกรและคนยากไร้อีกเป็นจำนวนมากไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง หรือมีที่ดินทำกินไม่เพียงพอ จึงต้องมุ่งปลดปล่อยพลังการผลิตของสังคม ซึ่งไม่ได้มีความหมายแต่เพียงการผลิตด้านสินค้าและ
เป็นต้น
บริการที่มีมูลค่าเท่านั้น หากแต่รวมถึงการผลิตสิ่งที่มีคุณค่าอื่นๆ เช่น ศิลปะ วิชาความรู้
4) ระบบกระบวนการยุติธรรมยังมีข้อจำกัดสำหรับคนจน กล่าวคือ คนจนและ สติปัญญา และด้านจิตวิญญาณของสังคมด้วย 13
คนชายขอบยังไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อย่างทั่วถึง เช่น การเข้าสู่กระบวนการ ในการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมทางการเมืองของนักวิชาการนั้น ได้นำมาสู่การตั้งคำถาม
ยุติธรรมที่มีการดำเนินคดีที่ใช้เวลายาวนาน ทำให้มีต้นทุนค่าใช้จ่ายสูง รวมทั้งการเน้นแบบแผน สำคัญที่ว่า “ประชาชนสามารถสร้างผลกระทบต่อระบบสังคมการเมืองที่พวกเขาดำรงอยู่ได้
ขั้นตอนการปฏิบัติของรัฐ และการใช้ภาษาของทางราชการโดยเคร่งครัด ทำให้ยากต่อความเข้าใจ อย่างไร” (Heywood, 2007) ดังตัวอย่างการศึกษาของ Robert D. Putnam และ คณะ
14
ของประชาชน กระบวนการดังกล่าวยังเป็นการผูกขาดอำนาจไว้ที่รัฐโดยไม่กระจายสู่ชุมชน (1993) ที่พบว่า ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลีแถบ มิลานและทอรีโนมีเศรษฐกิจดี การเมือง
15
เป็นต้น
และศีลธรรมดี อันเนื่องมาจากมีการรวมตัวกันของผู้คนในรูปของกลุ่ม ชมรม สมาคม สหกรณ์
5) ระบบการบริหารราชการแผ่นดินที่ขาดประสิทธิภาพ ขาดความโปร่งใส และ หรือการรวมตัวกันในรูปองค์กรประชาสังคมต่างๆ และการรวมตัวกันของผู้คนในรูปแบบต่างๆ
การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ/การทุจริตคอร์รัปชันของเจ้าหน้าที่รัฐ เป็นสาเหตุสำคัญส่วนหนึ่ง ดังกล่าว ยังเป็นตัวกำหนดที่สำคัญที่สุดต่อความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ รวมถึงความเป็น
ที่ทำให้การดำเนินนโยบายสาธารณะและการจัดบริการสาธารณะเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาธิปไตยที่เท่าเทียมและความสงบสุขของสังคม ขณะที่อิตาลีทางตอนใต้กลับพบความแตกต่าง
ประชาชนขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพราะการจัดสรรงบประมาณบางส่วนมีการทุจริต อย่างมีนัยสำคัญนั่นคือ แถบซิซิลีที่มีแต่ความยากจน ความเหลื่อมล้ำ การทุจริตคอร์รัปชันและ
คอร์รัปชัน งบประมาณที่นำไปใช้จ่ายไม่ตรงกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายที่มีความจำเป็น นักเลงผู้มีอิทธิพล เป็นต้น
ขณะเดียวกันยังขาดระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่บ่งชี้คุณลักษณะของคนจน Fives Nations, Boston : Little, Brown & Company.
Almond, G. A. & Verba, S.(1965). The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy in
11
บทความที่ผ่านการพิจารณา ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ 10 ขอนแก่น.
หรือผู้ด้อยโอกาส จึงทำให้การบริหารจัดการของรัฐเข้าไม่ถึงกลุ่มคนด้อยโอกาส จนทำให้เกิด
พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2556). สังคมวิทยาการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
12
โดยสรุปแล้ว จะเห็นได้ว่าปัญหาเชิงโครงสร้างของสังคมไทยดังที่กล่าวมาเป็นต้นเหตุ
13
คณะกรรมการปฏิรูป (คปร.). (2554). แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย: ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มี
สำคัญที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำอย่างรุนแรงในสังคมไทย และปัญหาเชิงโครงสร้างเช่นนี้เป็น
สิทธิ์เลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: หจก. บางกอกบล็อก.
ตัวกีดกันมิให้คนจำนวนมากสามารถเข้าถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเทียมกัน
Heywood, Andrew. (2007). Politics. (Third Edition). New York: PALGRAVE MACMILLAN.
14
10
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2557). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์
15
Putnam, Robert D., Leonardi, Robert & Nonetti, Raffaella Y. (1993). Ma ing Democracy Wor :
ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555. สืบค้นจาก http://social.nesdb.go.th/. Civic Traditions in Modern Italy. New Jersey : Princeton University.