Page 385 - kpi21190
P. 385

385



 1. บทนำ               ข้อเท็จจริงจากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงการให้ความสำคัญต่อประเด็นการแก้ไขปัญหา
                  ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย หากแต่ผลลัพธ์ของการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมายังไม่ประสบความสำเร็จ
                  เท่าที่ควร ดังเช่น ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในประเทศไทย ปรากฏชัดเจนจากดัชนีชี้วัด
                  การกระจายรายได้ และการถือครองทรัพย์สิน รวมถึงความเหลื่อมล้ำในการเป็นเจ้าของปัจจัย
 “มนุษย์เราเกิดมามีร่างกายและปัญญา สมองไม่เสมอกัน เมื่อเริ่มต้นก็เกิดความอยุติธรรม  การผลิตที่มีผลต่อการสร้างรายได้ เช่น ที่ดิน เงินทุน ความรู้ ทักษะของแรงงาน ฯลฯ แม้ว่ากลไก
 เสียแล้ว เช่นนี้ก็เป็นหน้าที่ของสังคมที่จะขจัดปัดเป่าความไม่เสมอภาคนั้นให้น้อยลงที่สุด”    ตลาดภายใต้ระบบทุนนิยมจะทำหน้าที่ได้ดีในการสร้างความเจริญเติบโตและความมั่งคั่งโดยรวม

                  ให้แก่ประเทศ แต่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้นเป็นที่ประจักษ์พยานว่า เราไม่สามารถ
 (ป๋วย  อึ้งภากรณ์, 2512) 1
                  อาศัยกลไกตลาดแบบทุนนิยมในการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจได้ ดังนั้นรัฐจึงจำเป็นต้อง
                  มีบทบาทในการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ
                           4
                  ทางสังคม  ในบทความนี้ จะเริ่มต้นด้วยการชี้ให้เห็นถึงสถานการณ์ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
 ปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยมีความสัมพันธ์กับประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ    ในสังคมไทย ตามด้วยพื้นฐานวัฒนธรรมทางการเมืองไทยที่ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
 ซึ่งเชื่อมโยงถึงความเป็นเหตุเป็นผลกันทั้งในเชิงทฤษฎีและเชิงประจักษ์ โดยในประเทศที่มีความ  และวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองกับการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม ดังจะได้
 เหลื่อมล้ำสูง ก่อให้เกิดผลเสียอย่างมากต่อประโยชน์สาธารณะ กล่าวคือ ทำให้ประชาชนรู้สึกถึง  นำเสนอให้เห็นในลำดับต่อไป
 ความเหลื่อมล้ำ และเกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมจากภาครัฐ เช่น ความไม่เป็น
 ธรรมด้านเศรษฐกิจ ความไม่เป็นธรรมด้านกฎหมาย ความไม่เป็นธรรมด้านการจัดสรร   2. สถานการณ์ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 งบประมาณตามนโยบายของรัฐ ตลอดจนกลไกการบริหารประเทศโดยรวม เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว

 ย่อมส่งผลเสียหายต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ระบอบ  ข้อมูลสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยในเวทีนานาชาติ จากรายงาน Global
 ประชาธิปไตยที่ไม่มีเสถียรภาพนั้นได้ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำขึ้นในสังคม ปัญหาดังกล่าว   Wealth Report ของกลุ่มเครดิตสวิส ที่วิเคราะห์โดยกลุ่มธนาคาร ได้แสดงข้อมูลที่น่ากังวลเป็น
 หากไม่มีการแก้ไขที่ถูกวิธี อาจนำไปสู่การเกิดความไม่พอใจ จนเกิดแรงต้านจากประชาชนและ
 ทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองได้ในที่สุด (สถาบันพระปกเกล้า, 2562) 2  อย่างยิ่งต่อปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย โดยพบว่าในปี พ.ศ. 2561 ประเทศไทยได้รับ
                  การจัดอันดับความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประเทศที่มีค่าสูงอยู่ในอันดับ 3 ของโลก รองจาก
 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากว่า 88 ปีบนเส้นทางประชาธิปไตยของไทย ได้มีความพยายาม  ประเทศรัสเซียและประเทศอินเดีย ซึ่งหมายความว่า ประเทศไทยมีระดับความเหลื่อมล้ำที่เลวร้าย
                                                                                             5
 อย่างยิ่งที่จะเปลี่ยนผ่านให้ประชาธิปไตยเกิดความยั่งยืนและสถาพร นำมาสู่ความเสมอภาคและ  มากกว่าประเทศอินโดนีเซีย บราซิล หรือประเทศที่มีรายได้น้อยหลายสิบประเทศทั่วโลก  จาก
 ความเท่าเทียมกันของสังคมไทย โดยมีการปรับแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมาย   ปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยเช่นนี้ นับเป็นปัญหาเชิงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาด้าน
 ที่เกี่ยวข้องต่างๆ เพื่อลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ ดังเช่น มีการบัญญัติเรื่อง การแก้ไขความ   เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองตามมา ถึงแม้ภาครัฐพยายามที่จะแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำ
 เหลื่อมล้ำไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในมาตราที่ 257 ว่าด้วย   ที่เกิดขึ้น แต่ทิศทางในการแก้ไขปัญหาค่อนข้างล่าช้า ประกอบกับสังคมไทยตกอยู่ภายใต้ กับดัก
 “การปฏิรูปประเทศด้วยการสร้างสังคมที่มีความสงบสุขเป็นธรรม และมีโอกาสทัดเทียมกัน    นโยบายประชานิยมมาอย่างยาวนาน จึงมีผลต่อการแก้ไขความเหลื่อมล้ำได้ไม่มาก หากภาครัฐ
 เพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำ” และมาตราที่ 258 อันมีสาระสำคัญว่าด้วย “การลดความเหลื่อมล้ำ    ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำผ่านนโยบายด้านเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างจริงจัง
 ในการศึกษาและเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู”  รวมทั้งมีแผนกำหนด  เพื่อเปลี่ยนแปลงและจัดระเบียบทางสังคมใหม่ให้กับผู้คนในสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่
 3
 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ในส่วนที่ 4 ว่าด้วยการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม    ที่ดีขึ้น ย่อมเกิดผลร้ายและสร้างความเสียหายให้กับสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก 6
                  ตัวอย่างสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยที่น่าสนใจ เช่น มีรายงานการวิเคราะห์

 1   ป๋วย อึ้งภากรณ์. (2512). ศีลธรรมและศาสนาในการพัฒนาชาติในปาฐกถาอนุสรณ์ซินแคลร์ ทอมป์สัน
 ค.ศ. 1969. วิทยาลัยพระคริสตธรรมในประเทศไทย และสภาคริสตจักรในประเทศไทย 21- 23 มกราคม 2512.   4   คณะกรรมการปฏิรูป (คปร.). (2554). แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย: ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มี
 2   สถาบันพระปกเกล้า. (2562). หลักการและเหตุผลการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21   สิทธิเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: หจก.บางกอกบล็อก.   บทความที่ผ่านการพิจารณา
 ประจำปี 2562 เรื่อง การลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย. สืบค้นจาก http://     5   ไกรยส ภัทราวาท. (2561). ไทยจะลงจาก top 3 ประเทศที่เหลื่อมล้ำที่สุดในโลกได้อย่างไร?. สืบค้นจาก
 www.kpi.ac.th/.   http://www.eef.or.th.
 3   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก,      6   สมชัย  จิตสุชน. (2558). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบายและแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย.
 หน้า 1 - 94.     สถาบันการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.ธนาคารแห่งประเทศไทย.
   380   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390