Page 383 - kpi21190
P. 383

383


 กลุ่มย่อยที่ 2
                  Abstract



                       The article presents multi - dimensional social inequality in Thailand. The causes
                  were analyzed and divided into two factors: structural problems of Thai society and
                  the weakness of political culture as well as people’s behaviors in the society. Both
                  factors have connected to each other, making Thailand fall into a trap of inequality.
                  Therefore, the present study suggested the solution to rectifying the inequality by
                  building a civic culture. Thailand has always tried to change the structure and the

 ¨²“𙤤¢˜³ˆ‚³¤¿¢¸®ˆÀ››Ÿ¦¿¢¸®ˆ    political institutions without considering social and cultural fundamental factors.
 ‚²›‚³¤¦•…¨³¢¿¬¦¸Ç®¢¦È´˜³ˆ«²ˆ…¢   Consequently, civic culture is adopted to educate people and have them adapt the

 Civic Culture and The Reduction of   culture into their new ways of life for reduce social inequality.
 Social Inequality                     Keywords : Social Inequality, Civic Culture



 วรัญญา  ศรีริน*
 พรอัมรินทร์  พรหมเกิด**




 บทคัดย่อ



 ในบทความนี้ได้นำเสนอให้เห็นว่า ปัญหาความเหลื่อมล้ำที่เกิดขึ้นในสังคมไทยมีหลายมิติ
 แต่เมื่อวิเคราะห์ถึงปัจจัยเชิงสาเหตุพบว่า มีอยู่สองประการคือ หนึ่ง เกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้าง
 ของสังคมไทย สอง เกิดจากปัญหาของพื้นฐานวัฒนธรรมทางการเมืองและพฤติกรรมของผู้คน
 ในสังคม ทั้งสองส่วนนี้มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกัน ทำให้สังคมไทยติดกับดักอยู่กับความเหลื่อมล้ำ
 มายาวนาน ในบทความนี้ได้เสนอทางออกในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมด้วยการ
 สร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมือง เนื่องจากอดีตที่ผ่านมา สังคมไทยได้พยายาม

 เปลี่ยนแปลงโครงสร้างและสถาบันทางการเมือง แต่ไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยพื้นฐานทางด้านสังคมและ
 วัฒนธรรม โดยเฉพาะการมุ่งปลูกฝังวัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองให้กลายเป็นค่านิยม
 และวิถีชีวิตใหม่ของผู้คนเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม

 คำสำคัญ : ความเหลื่อมล้ำทางสังคม, วัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมือง








   *  นักศึกษาปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น                     บทความที่ผ่านการพิจารณา
   **  รองศาสตราจารย์ ดร., อาจารย์ประจำสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และ
 สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
   378   379   380   381   382   383   384   385   386   387   388