Page 389 - kpi20858
P. 389
347
ที่มาภาพ: ตามรอย ‘พ่อหลวง ร.๙’ เสด็จฯเยือน ฐานเดิม ที่มีการหล่อดอกประจ ายามประดับเพิ่มเมื่อปี พ.ศ.
โคราช, เข้าถึงเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก 2479 ตามค าร้องขอของข้าหลวงประจ าจังหวัดนครราชสีมา
http://moremove.com/mmV5/?p=15920
สีและแสงเงา การวิเคราะห์
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี หล่อด้วยวัสดุทอดแดงรมด า หรือ
สัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นวัสดุที่คุ้นเคยของช่างชาวสยาม นอกจากนี้ยังมี
ความทนทาน การรมด าท าให้สีอนุสาวรีย์นั้นอยู่ในค่าน ้าหนัก
สีเข้ม เมื่อติดตั้งบนแท่นฐาน ส่งผลให้เกิดความเป็นเด่นตัดกับ
ลานกลางแจ้ง ซึ่งรับแสดงแดดตลอดวัน
ตารางที่ 30 การวิเคราะห์รูปแบบ อนุสาวรีย์ ท้าวสุรนารี โดยคอร์ราโด เฟโรจี (ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี)
ที่มา: ผู้วิจัย
รูปแบบในการถ่ายทอดผลงานอนุสาวรีย์ เป็นแบบเหมือนจริง ซึ่งมีอิทธิพลของการสร้าง
งานประติมากรรมแบบตะวันนตก มีแนวโน้มน าเสนอความเป็นมนุษย์สามัญมากกว่าในอดีต ที่แม้
ในการสร้างพระรูปเหมือนจริงของกษัตริย์ แต่ปั้นโดยใส่อุดมคติบางประการให้เป็นประหนึ่งสมมุติ
เทพ แสดงความยิ่งใหญ่อลังการขององค์ประกอบส่วนต่างๆ ตั้งแต่การจัดท่าทาง ขนาด ตลอดจน
ฉาก และส่วนรายละเอียดตกแต่งอื่นๆ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประติมากรรมดูทรงพระราชอ านาจ ต่าง
จากท้าวสุรนารี ที่สร้างในแบบสามัญ แสดงความงามแบบสามัญชน ตลอดจนระยะและขนาดที่ไม่
ใหญ่โต ท าให้มีความใกล้ชิดกับผู้ดูมากขึ้น สะท้อนแนวคิดถึงความต้องการในการขับเคลื่อนศิลปะ
รูปแบบใหม่ ภายใต้การควบคุมของผู้น าใหม่
4.2.1.2 ประติมากรรมรูปเหมือนบุคคล
ในอดีตการสร้างพระบรมรูปเหมือนพระมหากษัตริย์เคยมีมาตั้งแต่ รัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โดยมีการปั้นหล่อพระบรมรูปรัชกาลที่ 1 รัชกาลที่ 2 และรัชกาล
ที่ 3 จากนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการหล่อพระบรมรูปรัชกาลที่ 4 โดยโปรดให้แก้ไขส่วนบกพร่องที่
พระยาจินดารังสรรค์ปั้นขึ้น การสร้างพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ภายหลังเสด็จสวรรคต เป็นพระ
ราชนิยมหนึ่งที่โปรดให้ท าสืบต่อกันมาหลายรัชกาล เมื่อกล่าวถึงการปั้นพระบรมรูปในขณะที่พระ