Page 384 - kpi20858
P. 384

342





                                              สี และแสง-เงา                             การวิเคราะห์


                                                                                  พื้นที่ซึ่งเป็นลานกว้างกลาง

                                                                                  แจ้ง เป็นพื้นที่รับแสง การสร้าง
                                                                                  ฉากลับแลบังหลังให้มีสีอ่อน

                                                                                  และก าหนดให้พระบรมรูป
                                                                                  สร้างจากวัสดุสัมฤทธิ์สีเข้ม ยิ่ง
                                                                                  ช่วยส่งเสริมให้เกิดค่าน ้าหนัก

                                                                                  ที่ตัดกัน ช่วยขับเน้นพระบรม
                                                                                  รูปให้เด่นเป็นสง่าในพื้นที่

                                                                                  กลางแจ้งดังกล่าว


                       ตารางที่ 29 การวิเคราะห์รูปแบบ ปฐมบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ออกแบบโดย
                                          พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และปั้นโดยคอร์ราโด เฟโรจี (ศาสตราจารย์
                                           ศิลป์  พีระศรี)

                       ที่มา: ผู้วิจัย


                              การสร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก        มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น

                       อนุสรณ์ให้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก  และเพื่อเป็น
                       วัตถุอนุสรณ์ สัญลักษณ์ประจ ารัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การที่พระบาทสมเด็จ

                       พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด าริให้ออกแบบพระบรมรูปทรงฉลองพระองค์เต็มยศ นอกจาก

                       เพื่อยกย่องพระเกียรติยศของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกดังที่ได้กล่าวถึงแล้วนั้น  ยัง

                       เป็นเครื่องบ่งชี้แสดงความศักดิ์สิทธิ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์  เมื่อประกอบกับพระราชบัลลังก์

                       พระแสงดาบ  ตลอดจนขนาดของปฐมบรมราชานุสรณ์อันใหญ่โต  ยิ่งส่งเสริมพระราชอ านาจ  ปลุก
                       ส านึกเรื่องความจงรักภักดีของประชาชนทที่มีต่อสถาบันกษัตริย์ราชวงศ์จักรี   นอกจากนี้ยังมี

                       ความหมายด้านการส่งเสริมภาพลักษณ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์  ในยามที่ระบอบการปกครอง

                       แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก าลังถูกท้าทายอีกประการหนึ่ง

                              ด้านรูปแบบนั้นพบว่ามีการถ่ายทอดในลักษณะที่เหมือนจริง ซึ่งการแสดงความเหมือนจริง

                       คือพื้นฐานของการสร้างอนุสาวรีย์บุคคลส าคัญ  อีกทั้งประติมากรรมเหมือนจริงแบบตะวันตกยัง

                       เป็นพระราชนิยมที่ได้กระท าสืบมาตลอดหลายรัชกาล  อย่างไรก็ตามภายหลังจากพระราชพิธีเปิด

                       ปฐมบรมราชานุสรณ์คือ ในวันที่ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2475 หลงัจากนั้นเพียง 79 วันคณะราษฎร์ได้
                       ท าการยึดอ านาจ จนน าไปสู่การสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในที่สุด
   379   380   381   382   383   384   385   386   387   388   389