Page 358 - kpi20858
P. 358

316





                                            สะพานหัน                               รายละเอียดภาพ


                                                                          พระยาอนุศาสน์ จิตรกร, “สะพานหัน”,
                                                                          พ.ศ.2471, สีน ้ามันบนผ้าใบ, สมบัติ จีระ
                                                                          จิตรกร



                                                                          ผลงานจิตรกรรมสีน ้ามันแสดงภาพวิถี

                                                                          ชีวิตของคนในชุมชนสะพานหัน ณ
                                                                          ช่วงเวลาหนึ่ง ผู้คนต่างจับจ่ายซื้อของ
                                                                          สองข้างทางเต็มไปด้วยผักผลไม้ ราย

                                                                          ล้อมด้วยสถาปัตยกรรม

                                       รูปทรง                                 การวิเคราะห์


                                                              รูปทรงที่ปรากฏภายในผลงาน ประกอบด้วย มนุษย์ พืช
                                                              วัตถุสิ่งของ และสถาปัตยกรรมมีสัดส่วนที่สอดคล้อง
                                                              สัมพันธ์กัน ทั้งหมดถ่ายทอดแบบเหมือนจริง รูปทรง

                                                              มนุษย์แสดงกายวิภาคและสัดส่วนตามจริง มีการก าหนด
                                                              ท่าทางให้แสดงออกได้อย่างเป็นธรรมชาติ จากภาพพบว่า

                                                              เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายของผู้หญิง ยังมีการนุ่งโจงกระเบน
                                                              ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงโดยมีผ้าคาดเอว ที่ระยะหลังไกล
                                                              ออกไปพบหลังคารถสามล้อถีบ อาคารสถาปัตยกรรม

                                                              ประกอบด้วยอาคารไม้ และอาคารปูน กล่าวได้ว่าภาพ
                                                              จิตรกรรมชิ้นนี้เป็นภาพสะท้อนค่านิยมของยุคสมัยรัชกาล

                                                              ที่ 7 ได้อย่างชัดเจน

                                   มุมมองและระยะ                              การวิเคราะห์

                                                              มีการน าเสนอภาพในระดับสายตา และสร้างความลึกลวง

                                                              ด้วยทัศนียวิทยาเชิงเส้น กล่าวคือ มีการสร้างเส้นทแยงอัน
                                                              เกิดจากทิศทางของสถาปัตยกรรม ที่พุ่งตรงเข้าสู่จุดกึ่ง

                                                              กลางของภาพบริเวณบุคคลที่ยืนอยู่ที่ นอกจากนี้มีการ
                                                              ก าหนดขนาดของบุคคลให้ลดหลั่นลง เมื่ออยู่ในระยะหลัง
                                                              ของภาพ อีกทั้งยังมีการสร้างค่าน ้าหนักของสี และแสงเงา

                                                              ให้อ่อนค่าลงที่ระยะหลัง ถือเป็นการใช้หลักทัศนียวิทยา
                                                               แบบบรรยากาศร่วมด้วย
   353   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363