Page 333 - kpi20858
P. 333
290
ล าดับที่ สี และแสง-เงา การวิเคราะห์
จิตรกรรมฉากตอนพระนเรศวรทรงพระสุบิน ขณะไป
ตั้งพลับพลาประชุมทัพที่ยกไปรบกับพระมหาอุปราชา
ที่ต าบลมะม่วงหวาน กลางคืนบรรทมหลับ ทรงสุบิน
ว่าน ้าท่วมมาทางตะวันตก เสด็จทรงลุยน ้าไปพบพญา
จระเข้ตัวหนึ่ง ต่อสู้กันทรงฆ่าจระเข้นั้นตาย จากภาพ
13ฉ พบว่าในเงามืดนั้นพระยาอนุศาสน์ จิตรกร เขียนภาพ
พระนเรศวรทรงบรรทมหลับ โดยมีแสงฉายสว่างขึ้น
เพื่อเป็นการน าเสนอภาพความฝันให้ผู้ชมได้เห็น ถึง
ช่วงขณะที่พระองค์ก าลังเงื้ออาวุธฆ่าพญาจระเข้ ถือ
เป็นการใช้ค่าน ้าหนักของสี ถ่ายทอดภาพความ
สมจริงยามค ่าคืน และภาพแทนความฝัน ปรากฏให้
ผู้ชมเห็นภาพได้อย่างแนบเนียน
การปาดป้ายสีให้เกิดร่องรอยฝีแปรง เพื่อ
เลียนแบบพื้นผิวของน ้าตามธรรมชาติ มีความ
13ฉ ใกล้เคียงกับกลวิธีที่พบได้ในงานจิตรกรรมลัทธิ
อิมเพรสชันนิสม์ของตะวันตก เพื่อจับภาพความ
เคลื่อนไหวบนผิวน ้า
ที่ผ้านุ่งของเทพธิดา มีการก าหนดค่าน ้าหนักสี
เพื่อแทนความเป็นแสงและเงาอันจัดจ้า ตลอดจน
4จ ลักษณะผิวของผ้าที่เป็นมัน เหลือบเลื่อมสีทองได้
เป็นอย่างดี แสดงให้เห็นถึงชั้นเชิงการใช้สีที่ยอด
เยี่ยมของพระยาอนุศาสน์ จิตรกร
ตารางที่ 20 สี และแสง-เงา ในงานจิตรกรรมฝาผนังภายในพระวิหาร วัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โดยพระยาอนุศาสน์ จิตรกร
ที่มา: ผู้วิจัย