Page 335 - kpi20858
P. 335

293






                              5.1.2.1.1.2 รูปแบบ

                              ด้านแนวทางการศึกษาของพระสรลักษณ์ลิขิต เกิดจากการคัดลอกกรรมวิธีการท างานของ

                       ช่างหรือศิลปินเอก  เพื่อน าไปสู่การพัฒนาฝีมือให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น  ขั้นตอนการสร้างผลงานของท่าน

                       เริ่มจากการเขียนโครงร่างก่อน จากนั้นตกแต่งส่วนรายละเอียด ซึ่งเน้นให้ความส าคัญกับการเขียน

                       ตาก่อน ด้วยเหตุที่ว่า ตาคทอองค์ประกอบส าคัญที่สามารถสะท้อนความมีชีวิตแก่ผลงานจิตรกรรม
                       ภาพเหมือนบุคคลได้ ด้านรูปแบบการน าเสนอนนั้น ผลงานของท่านอาศัยหลักการสร้างงานศิลปะ

                       ตามหลักวิชา อันมุ่งสะท้อนภาพความเหมือนจริงแบบจิตรกรรมตะวันตก ผลงานที่ท่านได้ฝากฝีมือ

                       ไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  ประกอบด้วยจิตรกรรมภาพเหมือนบุคคล  โดย

                       ชิ้นที่ส าคัญมี 2 ภาพ ดังต่อไปนี้


                            1.  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว           รายละเอียดภาพ




                                                                  พระสรลักษณ์ลิขิต, “พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเก
                                                                  ล้เจ้าอยู่หัว”, พ.ศ.2475, สีน ้ามัน, 272x150 ซม.,
                                                                  พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง

                                                                  กรุงเทพฯ



                                                                  ภาพจิตรกรรมแสดงห้องซึ่งพระบาทสมเด็จพระ

                                                                  มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประทับยืนที่กึ่งกลางของ
                                                                  ภาพ ทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์ ฉลอง
                                                                  พระองค์ครุย และทรงพระแสงดาบที่พระหัตถ์ซ้าย

                                                                  พระหัตถ์ขวาก าหลวมๆ ถัดไปที่ด้านขวาของ
                                                                  พระองค์ปรากฏโต๊ะปูด้วยผ้าสีแดง รองรับพระมหา

                                                                  พิชัยมงกุฎ ซึ่งเป็นเครื่องทรงในพระมหากษัตริย์ไทย
                                                                  ตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นเครื่องหมายของพระราชา
                                                                  ส่วนที่ด้านซ้ายเป็นก าแพงซึ่งมีผ้าม่านยาวจรดพื้น

                                                                  สภาพแสดงภายในห้องมืดสลัว มีเพียงแสงสว่าง

                        ที่มาภาพ: อภินันท์ โปษยานนท์, จิตรกรรมและ  ฉายฉาบลงที่ระยะหน้า ซึ่งเป็นส่วนของพระพักตร์

                        ประติมากรรมแบบตะวันตกในราชส านัก เล่ม ๑   และพระวรกาย ตลอดจนผ้าคลุมโต๊ะสีแดง ส่วนพระ
                        (กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2537)   มหาพิชัยมงกุฎอยู่ในส่วนที่เป็นเงา
                        260.
   330   331   332   333   334   335   336   337   338   339   340