Page 331 - kpi20858
P. 331

288





                        ล าดับที่            การสร้างระยะ                          การวิเคราะห์



                                                                      ภาพบางส่วนที่ด้านขวาของฉากสงครามยุทธ

                                                                      หัตถี แสดงภาพฝุ่นฟุ้งตลบที่ด้านหลังเป็น
                                                                      ช่วงเวลาขณะที่กองทัพของสยาม และพม่า

                          3จ                                          ก าลังเข้าตะลุมบอนกัน พระยาอนุศาสน์
                                                                      สามารถใช้สีสร้างทัศนียวิทยาแบบบรรยากาศ
                                                                      ได้เป็นอย่างดี





                                                                      การสร้างระยะด้วยวิธีการลดหลั่นรูปทรง จาก
                                                                      ภาพจะพบว่ารูปทรงที่อยู่ในระยะหน้านั้นมี

                                                                      ขนาดใหญ่ และเล็กลงเมื่อเข้าสู่ระยะหลัง
                         10ฉ                                          ประกอบกับมีการก าหนดค่าน ้าหนักของสีให้
                                                                      อ่อน และพร่าเลือนลง เพื่อผลักระยะตาม

                                                                      ความเป็นจริงทางธรรมชาติ



                       ตารางที่ 19 มุมมองและระยะในงานจิตรกรรมฝาผนังภายในพระวิหาร วัดสุวรรณดาราราม จังหวัด
                                         พระนครศรีอยุธยา โดยพระยาอนุศาสน์ จิตรกร

                       ที่มา: ผู้วิจัย


                              การน าเสนอมุมมอง  ปรากฏทั้งมุมมองแบบระดับสายตา  และแบบมองจากที่สูง  เมื่อ
                       กล่าวถึงการน าเสนอมุมมองในระดับสายตานั้น  สามารถโน้มน าความรู้สึกของผู้ชมให้ร่วมเป็นส่วน

                       หนึ่งในเหตุการณ์ได้เป็นอย่างดี  ส่วนการน าเสนอมุมมองแบบตานกมองพบว่าปรากฏมีอยู่บ้าง  ใน

                       ฉากตอนสมเด็จพระนเรศวรตีเมืองเขมร  ขณะที่สมเด็จพระนเรศวรประทับอยู่บนเกย  เพื่อท าพิธี

                       ปฐมกรรม โดยมีนักพระสัตถาเจ้ากรุงกัมพูชาอยู่ด้านล่าง ดังนั้นการน าเสนอมุมมองเช่นนี้จึงมีความ

                       เหมาะสมส าหรับการเล่าเรื่องเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่  2  แห่งพร้อมกันในคราวเดียว  ด้านการ
                       น าเสนอระยะนั้น มีการใช้ทั้งทัศนียวิทยาเชิงเส้น และทัศนียวิทยาแบบบรรยากาศ เพื่อให้เกิดความ

                       สมจริง  ประกอบกับมีการใช้ทัศนียวิทยาแบบหดสั้นที่รูปทรงมนุษย์  เพื่อแสดงความลึกของภาพ

                       นอกจากนี้ยังมีการก าหนดขนาดของรูปทรงให้ลดหลั่นลง  กับใช้สีให้พร่าเลือนเมื่ออยู่ในระยะไกล

                       พระยาอนุศาสน์ จิตรกร ปรับมุมมองให้สอดคล้องไปกับการเล่าเรื่อง ไม่ได้ก าหนดตายตัวแน่นอน
   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335   336