Page 326 - kpi20858
P. 326
283
การน าเสนอภาพมนุษย์ภายในผลงาน เป็นเช่นเดียวกันกับวัดสามแก้ว กล่าวคือ มีลักษณะ
ของกความพยายามถ่ายทอดรูปทรงมนุษย์โดยค านึงถึงความถูกต้องตามหลักกายวิภาค แม้ว่าใน
การแสดงออกของพระยาอนุศาสน์ จิตรกร นี้แม้จะไม่ถูกต้องตามหลักการเท่าใดนัก แต่รูปทรงต่างๆ
เหล่านี้ได้แสดงให้เห็นว่าท่านมีความใฝ่ใจที่จะศึกษา และมีความพยายามแสดงออกให้ถูกต้องและ
สมจริง ใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด อย่างไรก็ตามความโดดเด่นของพระยาอนุศาสน์คือ ความมี
ชั้นเชิงในการน าเสนอมุมมองเพื่อถ่ายทอดภาพจิตรกรรมเล่าเรื่องในพระราชพงศาวดาร ซึ่งอาจ
พิจารณารูปแบบของการน าเสนอได้ ดังนี้
รูปทรงอุดมคติผสานความเหมือนจริง
ล าดับที่ รูปทรงมนุษย์ การวิเคราะห์
พระสยามเทวาธิราชทูลอัญเชิญพระอิศวร แบ่งภาคลงมา
อุบัติในมนุษย์โลก เป็นสมเด็จพระนเรศวร เครื่องทรงของ
พระสยามเทวาธิราช โดยเฉพาะรูปทรงของชฎา ยังคง
ลักษณะของจิตรกรรมตามขนบนิยม มีการลงสีและตัด
1.2ฉ เส้น อย่างไรก็ตามร่างกายของพระสยามเทวาธิราช
น าเสนอให้เห็นกายวิภาค ประกอบด้วยมวลกล้ามเนื้อ
และโครงสร้างของกระดูก โดยเฉพาะที่ข้อเท้า แสดงให้
เห็นว่ามีความพยายามเลียนแบบร่างกายมนุษย์ อีกทั้งยัง
มีการลงสี แสง-เงา เพื่อให้เกิดความสมจริงตามธรรมชาติ
อีกด้วย
จากภาพเทพธิดาอยู่ในท่วงท่าเชิงนาฏลักษณ์ แสดง
อาการเหาะเหินบนฟ้า ยกมือประนมมีการน าเสนอ
รูปลักษณ์และท่าทางเชิงนาฏลักษณ์ แฝงความงามแบบ
4จ
อุดมติเข้ากับการใช้แสง-เงา ซึ่งเป็นหลักการของจิตรกรรม
ตะวันตก ท าให้รูปทรงที่ปรากฏเป็นแบบ จิตรกรรมไทย
แนวตะวันตก