Page 330 - kpi20858
P. 330

287





                        ล าดับที่          การน าเสนอมุมมอง           การวิเคราะห์





                                                                      จากภาพ น าเสนอฉากตอนสมเด็จพระนเรศวร
                                                                      ได้เมืองหงสาวดี กองทัพก าลังมุ่งหน้าเข้ามา
                                                                      มีการน าเสนอมุมมองในระดับสายตาปกติ

                                                                      ประหนึ่งว่าผู้ชมได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน
                         15ฉ
                                                                      เหตุการณ์ครั้งนั้น การน าเสนอมุมมองใน

                                                                      ระดับปกติของสายตามนุษย์นั้น ช่วงส่งเสริม
                                                                      ความสมจริงในการมองภาพได้เป็นอย่างดี





                                                                      ฉากตอนสมเด็จพระนเรศวรตีเมืองเขมร น า

                                                                      เสนอมุมมองแบบตานกมอง พระยาอนุศาสน์
                                                                      จิตรกร ก าหนดมุมมองให้ผู้ชมได้มองเห็น

                         14ฉ                                          เรื่องราวทั้งด้านบน ขณะที่สมเด็จพระนเรศวร
                                                                      เสด็จอยู่บนเกย ท าพิธีปฐมกรรม โดยมีนักพระ
                                                                      สัตถา เจ้ากรุงกัมพูชาอยู่ด้านล่าง พระครู

                                                                      พราหมณ์เอาน ้าล้างพระบาทสมเด็จพระ
                                                                      นเรศวร ให้น ้าตกลงไปต้องศีรษะนักพระสัตถา



                        ล าดับที่            การสร้างระยะ             การวิเคราะห์

                                                                      มีการก าหนดระยะด้วยทัศนียวิทยาเชิงเส้น ดัง

                                                                      เห็นได้จากอาคารสถาปัตยกรรม และเส้นถนน
                                                                      ที่ท ามุมเฉียงสอบเข้าไปบรรจบที่จุดอันตรธาน

                                                                      ทบริเวณมุมด้านขวาในระยะหลัง ประกอบกับ
                          2ฉ                                          มีการผลักระยะด้วยสีและบรรยากาศให้วัตถุ

                                                                      ในระยะไกลดูเบาบาง พร่าเลือน อันเป็น
                                                                      ลักษณะของทัศนียวิทยาแบบบรรยากาศ อีก
                                                                      ทั้งขนาดของรูปทรงยังได้ถูกลดหลั่นลง เมื่อ

                                                                      เข้าสู่ระยะหลังของภาพอรกด้วย
   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335