Page 332 - kpi20858
P. 332
289
สี และแสง-เงา
ล าดับที่ สี และแสง-เงา การวิเคราะห์
แสงและเงา สร้างมวลปริมาตรแก่รูปทรง ทั้ง
รูปทรงมนุษย์ สัตว์ และรูปทรงสถาปัตยกรรมภาพ
จิตรกรรมที่พระวิหารแห่งนี้ พระยาอนุศาสน์ จิตร
กร สามารถถ่ายทอดได้อย่างดี จากภาพรูปทรง
16ฉ มนุษย์ แม้กายวิภาคไม่ถูกต้องนัก แต่ก็แสดงให้
เห็นว่าพระยาอนุศาสน์ ให้ความส าคัญกับการ
แสดงโครงสร้างของกระดูด สัดส่วน และ
กล้ามเนื้อ โดยอาศัยการจัดวางค่าน ้าหนักของสี
เพื่อใช้แสดงแทนค่าในส่วนของแสงและเงา
ล าดับที่ สี และแสง-เงา การวิเคราะห์
การก าหนดค่าแสง-เงา สามารถส่งเสริมให้เกิด
ระยะขึ้นภายในภาพได้อีกประการหนึ่งจากภาพ
แสดงภาพเทพธิดาก าลังเหาะเหิน ด้านหน้ามี
การก าหนดค่าแสงเงาอย่างจัดจ้าน เมื่อเข้าสู่
4จ ระยะหลัง รายละเอียดการลงสี และค่าน ้าหนัก
ได้ถูกท าให้เบาบางลง ไม่เทียบเท่ากับที่ระยะ
หน้า ส่งผลท าให้รูปทรงดังกล่าวพร่าเลือน ให้
ความรู้สึกถึงบุคคลที่อยู่ห่างไกลออกไป
เมื่อน าผนังรักแร้ คือ 1.1ฉ และ 1.2ฉ ฉากตอน พระ
สยามเทวาธิราชไปทูลอัญเชิญพระอิศวร แบ่งภาค
ลงมาอุบัติในมนุษย์โลก ท าให้พบว่า ทีการแสดง
แหล่งก าเนิดแสงภายในภาพ คือที่บริเวณหน้าต่าง
1.1ฉ
และ มีแสงสาดส่องไปยังพระอิศวร การใช้แสงสว่างใน
1.2 ฉ ลักษณะนี้ จิตรกรรมตะวันตกใช้เพื่อขับเน้นประธาน
หลักของภาพให้เกิดความน่าสนใจ ซึ่งพระยา
อนุศาสน์ จิตรกร สามารถถ่ายทอดออกมาได้เป็น
อย่างดี นอกจากนี้ด้านความหมายของแสงสว่าง ยัง
เป็นสิ่งบ่ง ชี้เชิงสัญลักษณ์ ส่งเสริมพลังความศรัทธา
ได้เป็นอย่างดี