Page 86 - kpi20767
P. 86
61
2.6 การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับ
สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ
จากการทบทวนแนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการน านโยบายไปปฏิบัติ และ
งานวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความส าเร็จในการด าเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ได้น าไปสู่การ
สังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ ดังตารางที่ 2.3-2.4 ดังนี้
ตารางที่ 2.3 การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการน านโยบายไปปฏิบัติ จากแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
แนวคิด และทฤษฎี วรเดช Van Horn and Edwards Cheema &
ปัจจัยที่มีอิทธิพลฯ จันทรศร (2554) Van Meter (1975) III (1980) Rondinelli (1980)
ปัจจัยด้านนโยบาย
ปัจจัยการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน
ปัจจัยด้านภารกิจ - -
ปัจจัยด้านทรัพยากร
ปัจจัยด้านการสื่อสารภายในองค์การ
ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย - - -
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก -
ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์การ - - -
ปัจจัยด้านทัศนคติของผู้ปฏิบัติงาน - - -
ปัจจัยด้านเครือข่ายความร่วมมือ -
ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม -
ความถี่ 9 6 8 7
จากตารางที่ 2.3 ซึ่งผู้วิจัยได้ท าการสังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการน านโยบายไปปฏิบัติจาก
แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการน านโยบายไปปฏิบัติ ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการน านโยบาย
ไปปฏิบัติ ประกอบด้วยตัวแปรอิสระจ านวน 11 ตัวแปร ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านนโยบาย 2) ปัจจัยการสื่อสาร
ระหว่างหน่วยงาน 3) ปัจจัยด้านภารกิจ 4) ปัจจัยด้านทรัพยากร 5) ปัจจัยด้านการสื่อสารภายนอก
องค์การ 6) ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย 7) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก 8) ปัจจัยด้านโครงสร้าง
องค์การ 9) ปัจจัยด้านทัศนคติของผู้ปฏิบัติงาน 10) ปัจจัยด้านเครือข่ายความร่วมมือ และ 11) ปัจจัยด้าน
ค่านิยม/วัฒนธรรม