Page 287 - kpi20767
P. 287
262
ต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ เมื่อ
พิจารณาในรายองค์ประกอบสามารถอธิบายได้ ดังนี้
1) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักนิติธรรม
จ าแนกตามต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.08 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ
3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .36 (Sig. = .36) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการ
วิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีระดับการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักนิติธรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักคุณธรรม
จ าแนกตามต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.08 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ
3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .35 (Sig. = .35) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการ
วิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีระดับการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักคุณธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ
โปร่งใสจ าแนกตามต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.30 ที่องศาความเป็นอิสระ (df)
เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .13 (Sig. = .13) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้
ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ต่างกัน มี
ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความโปร่งใส ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่
ระดับ .05
4) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วน
ร่วมจ าแนกตามต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีค่า F เท่ากับ .89 ที่องศาความเป็นอิสระ (df)
เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .65 (Sig. = .65) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้
ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ต่างกัน มี
ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ