Page 289 - kpi20767
P. 289
264
ตารางที่ 5.39 แสดงผลการถดถอยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน
การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลของ
องค์การภาครัฐ โดยรวม (Ŷ )
รวม
Unstandardized Standardized
Model x – x t Sig.
1
12
b S.E. β (Beta)
การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ Constant 0.44 0.14 - 3.03 0.00
ในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา X 0.09 0.06 0.08 1.60 0.11
1
ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก X 0.14 0.05 0.15 2.88 0.00 **
2
ธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ X 0.08 0.05 0.08 1.51 0.13
3
โดยรวม X 0.04 0.04 0.05 1.00 0.32
4
X 0.04 0.06 0.04 0.78 0.44
5
R = .85 X 0.23 0.05 0.24 4.31 0.00 **
6
2
R = .72 X 0.13 0.04 0.14 2.95 0.00 **
7
R 2 Adj. = .71 X 0.02 0.03 0.03 0.72 0.47
8
X 0.11 0.06 0.11 1.70 0.09
9
X 0.02 0.03 0.03 0.70 0.48
10
a. Dependent Variable = X 0.20 0.07 0.20 2.90 0.00 **
11
Ŷ X 0.27 0.05 0.30 5.24 0.00 **
12
รวม
* = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ** = มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จากตารางที่ 5.39 พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม
ซึ่งใช้การวิเคราะห์แบบก าหนดตัวแปรเข้าไปในสมการทั้งหมด (Enter Method) มีดังนี้
1. ปัจจัยที่น ามาศึกษาทั้ง 12 ตัวแปร มีความสัมพันธ์พหุคูณกับการด าเนินงานตาม
ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลของ
องค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ 0.85 (R = 0.85) แสดงว่าตัวแปรอิสระทั้ง 12 ตัวแปรรวมกันมี
ความสัมพันธ์กับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
โดยมีค่าความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมาก คือ ร้อยละ 85
2. ปัจจัยที่น ามาศึกษาวิจัยทั้ง 12 ตัวแปรมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการผันแปร
กับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
2
ภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ 0.72 (R = 0.72) แสดงว่าตัวแปรอิสระ
ทั้ง 12 ตัวแปร สามารถอธิบายการผันแปรหรือการเปลี่ยนแปลงการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน