Page 286 - kpi20767
P. 286
261
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับ
ผิด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความ
คุ้มค่าพบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.02 ที่องศาความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ
เท่ากับ .44 (Sig. = .44) ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้
ว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต าแหน่งต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลัก
ความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตอนที่ 5.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวม และในราย
องค์ประกอบ จ าแนกตามประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน
พหุคูณแบบทางเดียว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏดังตารางที่ 5.38 ดังนี้
ตารางที่ 5.38 แสดงผลการเปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับ
สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวมและราย
องค์ประกอบ จ าแนกตามประสบการณ์ท างาน
Multivariate Tests
Source Dependent Sum Squares df Mean Square F Sig.
ประสบการณ์ องค์ประกอบหลักนิติธรรม 13.12 3.00 .40 1.08 .36
ท างาน องค์ประกอบหลักคุณธรรม 13.72 3.00 .42 1.08 .35
องค์ประกอบหลักความโปร่งใส 38.63 3.00 1.17 1.30 .13
องค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม 18.62 3.00 .56 .89 .65
องค์ประกอบความรับผิด 26.05 3.00 .79 1.08 .36
องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า 27.53 3.00 .83 .94 .57
การด าเนินงานฯ โดยรวม 19.18 3.00 .58 1.09 .33
จากตารางที่ 5.38 พบว่า ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวมจ าแนก
ตามประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การทดสอบ Multivariate Tests แบบทางเดียว
(Mutivariate Analysis of Variance: One-way MANOVA) พบว่า มีค่า F เท่ากับ 1.09 ที่องศา
ความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 3 และมีนัยส าคัญทางสถิติ เท่ากับ .33 (Sig. = .33) ซึ่งน้อยกว่านัยส าคัญ
ทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการวิจัย โดยสามารถแปลผลได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างาน