Page 193 - kpi20767
P. 193
168
ปัจจัย สอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถเรียงล าดับจากตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการ
ผันแปรในตัวแปรตามในแบบคะแนนมาตรฐานมากที่สุดไปหาน้อย ดังนี้
3.1 ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม (X Beta = .39)
11
3.2 ปัจจัยด้านผู้น า (X Beta = .23)
12
3.3 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก (X Beta = .15)
7
โดยผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการผันแปรกับการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า ได้แก่ ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม
(X Beta = .39) โดยเมื่อปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรมเปลี่ยนไป 1 หน่วย จะท าให้การด าเนินงาน
11
ตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล
ขององค์การภาครัฐ องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า เปลี่ยนแปลงไป .39 หน่วยในทิศทางเดียวกัน
รองลงมาคือ ปัจจัยด้านผู้น า (X Beta = .23) คือ เมื่อมีการเปลี่ยนไป 1 หน่วย จะท าให้การ
12
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า เปลี่ยนแปลงไป .23 หน่วยในทิศทาง
เดียวกัน และสุดท้ายคือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก (X Beta = .15) โดยเมื่อปัจจัยด้าน
7
สภาพแวดล้อมภายนอกเปลี่ยนไป 1 หน่วย จะท าให้การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ
องค์ประกอบหลักความคุ้มค่า เปลี่ยนแปลงไป .15 หน่วยในทิศทางเดียวกัน
ดังนั้น เมื่อทราบค่าคงที่ และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ จะสามารถสร้างสมการ
ถดถอยเชิงเส้นตรงในรูปคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้
สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ (Unstandardized Coefficient) มีดังนี้
Ŷ = .65 + (.22X ) + (.41X ) + (.14X )
12
6
7
11
เมื่อ Ŷ = การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
6
การบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐองค์ประกอบหลักความคุ้มค่า ในรูป
คะแนนดิบ (Unstandardized)
สมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized Coefficient) มีดังนี้
Ẑ = .23Z + .39Z + .15Z
7
11
12
6
เมื่อ Ẑ = การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา
6
ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐองค์ประกอบหลักความคุ้มค่า ใน
รูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized)