Page 135 - kpi20767
P. 135

110

                       โดยตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Skewness Coefficient;  ) และค่าสัมประสิทธิ์ความ
                                                                                   1
                       โด่ง (Kurtosis Coefficient;   ) อยู่ในช่วงระหว่าง -2 ถึง +2 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าข้อมูลชุดนี้ มีการ
                                                 2
                       แจกแจงที่เป็นโค้งปกติ และมีความเหมาะสมต่อการน าไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติต่อไป


                       ตารางที่ 4.6 ความถี่ และร้อยละ (Percentage) ของกลุ่มตัวอย่างจ าแนกตามประสบการณ์ท างาน

                                     ประสบการณ์ท างาน                 f       %                    
                                                                                           1
                                                                                                       2
                         น้อยกว่า 1 ปี                               44      14.38
                         ระหว่าง 1-5 ปี                              122     39.87
                         ระหว่าง 6-10 ปี                             51      16.67

                         มากกว่า 10 ปีขึ้นไป                         89      29.08
                                         รวมจ านวน                   306    100.00       .08        -1.28


                       หมายเหตุ:   และ    เป็นการคิดค านวณจากชุดข้อมูล ซึ่งมีฐานะเป็นตัวแปรหรือเป็นองค์ประกอบ
                                  1
                                           2
                                 ของชุดข้อมูลซึ่งมีฐานะเทียบเท่าตัวแปรในการวิจัย


                               จากตารางที่ 4.6 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 306 ตัวอย่าง ส่วนใหญ่มี

                       ประสบการณ์ท างานระหว่าง 1-5 ปี โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 122 คน (f = 122) คิดเป็นร้อยละ 39.87
                       (39.87 %) มีประสบการณ์ท างานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 89 คน (f = 89) คิดเป็น

                       ร้อยละ 29.08 (29.08 %) มีประสบการณ์ท างานระหว่าง 6-10 ปี โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 51 คน

                       (f =  51) คิดเป็นร้อยละ 16.67 (16.67 %) และมีประสบการณ์ท างานน้อยกว่า 1 ปี โดยมีค่าความถี่
                       เท่ากับ 44 คน (f = 44) คิดเป็นร้อยละ 14.38 (14.38 %)

                               ทั้งนี้ จากชุดข้อมูลดังกล่าว พบว่า ไม่มีตัวแปรใดที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Skewness

                       Coefficient;  ) หรือค่าสัมประสิทธิ์ความโด่ง (Kurtosis Coefficient;   ) มากกว่า ± 2 ขึ้นไป
                                    1
                                                                                     2
                        โดยตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Skewness Coefficient;  ) และค่าสัมประสิทธิ์ความ
                                                                                   1
                       โด่ง (Kurtosis Coefficient;   ) อยู่ในช่วงระหว่าง -2 ถึง +2 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าข้อมูลชุดนี้ มีการ
                                                 2
                       แจกแจงที่เป็นโค้งปกติ และมีความเหมาะสมต่อการน าไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติต่อไป


                                 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ
                       ในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การ

                       ภาครัฐ

                                   จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
                       ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การ
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140